งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปีงบประมาณ 2560 ประเด็นนำเสนอ การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 การประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน รพ.สต. ค่าตอบแทนกำลังคน ด้านสาธารณสุข ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายลักษณะงบลงทุน(งบค่าเสื่อม) แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2560 แนวทางการเรียกเก็บ-ตามจ่ายค่าบริการทางแพทย์ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

2 1. การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560
กรอบงบประมาณ วงเงิน บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว 151,770.44 บริการผู้ติดเชื้อHIV และผู้ป่วยเอดส์ 3,122.41 บริการไตวายเรื้อรัง 7,529.23 บริการควบคุม ป้องกันโรคเรื้อรัง 960.40 ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการในพื้นที่กันดาร เสี่ยงภัย และ 3 จังหวัดชายแดนใต้ บริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 900.00 รวม 123,645.78 ประเภทบริการ : ผู้มีสิทธิ บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,137.58 บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,090.41 บริการกรณีเฉพาะ 315.14 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 405.29 บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 16.13 บริการการแพทย์แผนไทย 11.61 ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน 128.69 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้บริการและผู้ให้บริการ 5.02 รวม(บาทต่อผู้มีสิทธิ) 3,109.87

3 สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
1. การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 งบเหมาจ่ายรายหัว หลักเกณฑ์สปสช. 59 หลักเกณฑ์สปสช. 60 บริการผู้ป่วยนอก (OP) เหมาจ่าย ต่อปชก. ≈ 1, บาท เหมาจ่าย ต่อปชก. ≈ 1, บาท คุณภาพผลงานบริการ (QOF ≥ 37 บาท) คุณภาพผลงานบริการ(QOF = 10 บาท) จ่ายตามผลงาน ( OP ≤ ) ยกเลิก บริการผู้ป่วยใน (IP) จ่ายตามระบบ DRG V.5 และเงื่อนไขบริการ (≈ 1, บาท) และเงื่อนไขบริการ (≈ 1, บาท) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพบริการ ≤ 20 บาท บริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) (สำหรับทุกสิทธิ) NPP&central procurement 30 บาท PP Basic service ≈ บาท PP Basic service ≈ บาท คุณภาพผลงานบริการ (QOF ≥ 20 บาท) PP Area Health service ≤ 8 บาท PP Area Health service ≤ 4 บาท PP ที่ดำเนินการในชุมชน = 45 บาท สนับสนุนการจัดบริการ ≤ 5 บาท

4 1. การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560
การจัดสรร UC Basic payment ( สปสช. Sheet 0) PP 60% Age adj 40% Workload OP 80% Age adj 20% Flat rate IP 45% Age adj average RW 55 % Sum adj RW Fixed rate รายการ ปี 2559 ปี 2560 OP+IP+PP (ก่อนหักเงินเดือน) 92,770,433,064 96,253,207,201 เงินเดือน 38,398,324,100 40,539,706,000 คงเหลือ 54,372,108,964 55,713,501,201

5 แนวทางการกันเงิน การบริหารเงินเดือน และการจัดสรรแบบขั้นบันได
ประมาณการรายรับ OP IP PP 60 คำนวณเงินโดยใช้ Step Ladder & K factor หัก OP QOF 10 บาท: ปชกไทย หัก PP QOF 10 บาท: ปชกไทย หักเงินเดือนแต่ละCUP เงินกันเพื่อใช้เติมหลังปรับ step ladder & K factor 8% วงเงิน 7,700 ล้านบาท 1) เติม เพื่อประกันรายรับขั้นต่ำ 2) เติม เพื่อรายรับหลังหักเงินเดือนไม่ติดลบ 3) ประกันรายรับขั้นต่ำ 202 รพ. และ กู้สถานการณ์การเงินการคลัง รพ. เป้าหมาย กันเงินระดับประเทศ/เขต/จังหวัด 2% วงเงิน 1,900 ล้านบาท เงินกันส่วนที่เหลือ ไว้นำไปปิดยอดปลายปีเพื่อให้ได้ตามที่ประกันรายรับ จัดสรรให้เขต 1) เขตจัดสรร CF ให้จังหวัด

6 น้ำหนักคะแนนที่ใช้ในการจัดสรรเงินแบบขั้นบันได
กองทุน OP PP กลุ่ม รพ.(ตามจำนวนปชก.) คะแนนจัดสรร ≤ 5,000 2.00 5,001-10,000 1.80 10,001-20,000 1.60 20,001-30,000 1.40 30,001-40,000 1.20 40,001-50,000 1.10 50,001-60,000 1.00 60,001-90,000 0.95 90, ,000 0.90 120, ,000 0.85 > 150,000 0.80

7 สรุปการจัดสรรค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัวหลังปรับลดค่าแรง
1. การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 สรุปการจัดสรรค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัวหลังปรับลดค่าแรง หน่วยบริการ OP IP PP รวม รวมจังหวัดสงขลา 568.68 415.25 124.92 1,108.85 รพ.หาดใหญ่ 124.32 227.85 27.11 379.29 รพ.สงขลา 69.43 99.50 15.78 184.73 รพ.สทิงพระ 11.50 2.51 2.43 16.45 รพ.จะนะ 33.53 8.85 9.28 51.67 รพ.สมเด็จฯนาทวี 43.09 16.84 9.36 69.30 รพ.เทพา 41.73 9.23 8.86 59.83 รพ.สะบ้าย้อย 40.79 5.57 8.66 55.04 รพ.ระโนด 25.78 8.91 5.47 40.17

8 สรุปการจัดสรรค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัวหลังปรับลดค่าแรง
1. การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 สรุปการจัดสรรค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัวหลังปรับลดค่าแรง หน่วยบริการ OP IP PP รวม รพ.กระแสสินธุ์ 7.77 1.64 11.05 รพ.รัตภูมิ 32.77 6.78 6.96 46.52 รพ.สะเดา 35.99 7.51 7.64 51.15 รพ.นาหม่อม 6.85 2.11 1.45 10.42 รพ.ควนเนียง 17.25 2.80 3.66 23.73 รพ.ปาดังเบซาร์ 29.01 4.47 6.16 39.64 รพ.บางกล่ำ 12.40 2.93 2.63 17.97 รพ.สิงหนคร 22.28 3.05 4.73 30.07 รพ.คลองหอยโข่ง 14.11 4.62 3.00 21.74

9 ตัวอย่างการคำนวณ OP PP แบบขั้นบันได

10 กลุ่ม รพช. ที่มีเตียง มากกว่า 10 เตียง แต่ไม่เกิน 60 เตียง
ตัวอย่างการคำนวณ IP * factor K กลุ่ม รพช. ที่มีเตียง มากกว่า 60 เตียง กลุ่ม รพช. ที่มีเตียง มากกว่า 10 เตียง แต่ไม่เกิน 60 เตียง แตกต่างที่ จำนวนประชากร

11 2.การประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน รพ.สต.
Fixed Cost ตามขนาด รพ.สต ค่ายาและเวชภัณฑ์ เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย ฉ.8 หรือ ฉ.11 หนังสือเลขที่ 0204/22819 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม เรื่อง การสนับสนุนค่าใช้จ่าย ที่เป็นต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ในการบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ จัดสรรตามขนาด จัดสรรเป็นกลุ่มค่าใช้จ่าย กลุ่ม จำนวนประชากร S น้อยกว่า 3,000 M 3,000-8,000 L มากกว่า 8,000 ค่าไฟฟ้า ประปา สื่อสาร ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

12 หลักการคิด Fixed Cost ตามขนาด รพ.สต
2.การประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน รพ.สต. หลักการคิด Fixed Cost ตามขนาด รพ.สต อัตราค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ที่ควรได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) กลุ่มค่าใช้จ่าย กลุ่ม S กลุ่ม M กลุ่ม L ค่าไฟฟ้า ประปา สื่อสาร 4,400 5,400 5,500 ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว 19,170 ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 1,430 2,930 5,330 รวมต่อเดือน 25,000 27,500 30,000 รวมต่อปี 300,000 330,000 360,000

13 ร่างการจัดสรร Fixed cost สำหรับ รพ.สต.
2.การประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน รพ.สต. ร่างการจัดสรร Fixed cost สำหรับ รพ.สต. หน่วยบริการ S M L จำนวนเงินที่ต้องใช้ในการ Fixed cost รพ.หาดใหญ่ 2 9 5 5,370,000 รพ.สงขลา** 4 11 3 5,910,000 รพ.สทิงพระ 3,690,000 รพ.จะนะ 8 6 1 4,740,000 รพ.สมเด็จฯ 10 7 5,310,000 รพ.เทพา 3,600,000 รพ.สะบ้าย้อย รพ.ระโนด 3,780,000 รพ.กระแสสินธุ์ 1,200,000 หน่วยบริการ S M L จำนวนเงินที่ต้องใช้ในการ Fixed cost รพ.รัตภูมิ 4 7 3,510,000 รพ.สะเดา 6 2 3,840,000 รพ.นาหม่อม 1 960,000 รพ.ควนเนียง 3 1,890,000 รพ.ปาดังเบซาร์ 1,920,000 รพ.บางกล่ำ 1,560,000 รพ.สิงหนคร 3,090,000 รพ.คลองหอยโข่ง 1,290,000 รพ.สงขลา เท่ากับ รพสต.ในอำเภอเมือง รวมกับ รพ.สต.นาทับ รพ.สต.นาเสมียน รพ.สต.จะโหนง และรพ.สต.บ้านตรับ อำเภอจะนะ รพสต.หัวเขาและรพ.สต.สถิตย์ อำเภอสิงหนคร และรวม ศูนย์สุขภาพชุมชนเขารูปช้าง1และ 2

14 3. ค่าตอบแทนกำลังคน ด้านสาธารณสุข

15 3. ค่าตอบแทนกำลังคน ด้านสาธารณสุข
ระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขในการประมาณการจัดสรรค่าตอบแทนปี 2560 ค่าตอบแทน ฉบับที่ 10 ค่าตอบแทนกรณีพิเศษสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ค่าตอบแทนเหมาจ่าย ฉบับที่ 11 (การจัดประเภทหน่วยบริการใช้ตาม ฉ.8) -อัตราจ่ายรายวิชาชีพตาม (ร่าง) อัตราการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2544(ฉบับ11) พ.ศ. 2559 -กำหนดรายชื่อหน่วยบริการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายเงินค่า ตอบแทน ตามแนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องการจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ พ.ศ.2544 (ฉบับ 8 แก้ไขเพิ่มเติม) พ.ศ.2558 ค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน ฉบับที่ 12 (ประมาณการจาก ฉ.9) ใช้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายเงินค่าตอบแทน ตามแนบท้ายข้อ บังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องการจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ พ.ศ.2544 (ฉบับ 9 แก้ไขเพิ่มเติม) พ.ศ.2558

16 3. ค่าตอบแทนกำลังคน ด้านสาธารณสุข
 CUP ค่าตอบแทน รพ.สต. รพ. รวม รพ.หาดใหญ่ 2,974,800 19,878,865.38 22,853,665.38 รพ.สงขลา 2,394,000 10,223,043.17 12,617,043.17 รพ.สทิงพระ 1,455,600 1,962,872.94 3,418,472.94 รพ.จะนะ 2,692,800 6,178,115.66 8,870,915.66 รพ.สมเด็จพระบรมราชินีนาถ 2,973,600 8,202,410.70 11,176,010.70 รพ.เทพา 1,272,000 4,820,373.90 6,092,373.90 รพ.สะบ้าย้อย 2,324,400 6,340,346.07 8,664,746.07 รพ.ระโนด 1,658,400 2,371,295.67 4,029,695.67 รพ.กระแสสินธุ์ 339,600 1,447,109.58 1,786,709.58 รพ.รัตภูมิ 1,312,800 2,619,899.36 3,932,699.36 รพ.สะเดา 1,077,600 2,677,681.00 3,755,281.00 รพ.นาหม่อม 468,000 1,832,740.23 2,300,740.23 รพ.ควนเนียง 433,200 1,794,770.70 2,227,970.70 รพ.ปาดังเบซาร์ 516,000 1,752,578.00 2,268,578.00 รพ.บางกล่ำ 375,600 1,990,349.27 2,365,949.27 รพ.สิงหนคร 637,200 2,417,890.94 3,055,090.94 รพ.คลองหอยโข่ง 374,400 1,753,448.62 2,127,848.62

17 ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน
4. ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายลักษณะงบลงทุน(งบค่าเสื่อม) ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (125,488, บาท) ระดับจังหวัด 10% (12,548, บาท) ระดับหน่วยบริการ 90% (112,940, บาท) หน่วยบริการ วงเงินจัดสรร รพ.หาดใหญ่ 39,944,618.78 รพ.สงขลา 22,407,010.34 รพ.สทิงพระ 2,576,957.36 รพ.จะนะ 5,737,616.33 รพ.สมเด็จฯ 5,767,188.66 รพ.เทพา 5,115,516.22 หน่วยบริการ วงเงินจัดสรร รพ.สะบ้าย้อย 4,810,705.61 รพ.ระโนด 4,305,361.12 รพ.กระแสสินธุ์ 884,727.23 รพ.รัตภูมิ 4,544,587.77 รพ.สะเดา 4,637,282.62 รพ.นาหม่อม 1,542,942.39 หน่วยบริการ วงเงินจัดสรร รพ.ควนเนียง 1,986,942.81 รพ.ปาดังเบซาร์ 2,610,155.13 รพ.บางกล่ำ 1,700,107.97 รพ.สิงหนคร 2,785,972.82 รพ.คลองหอยโข่ง 1,582,371.29

18 เป็นครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่หน่วยบริการมีอยู่ แล้ว
แนวทางการตรวจสอบ การบริหารจัดการ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน ปีงบประมาณ 2560 เงินค่าเสื่อมจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ หน่วยบริการนำไปใช้ในการจัดหาเพื่อทดแทน ส่วนที่ขาดหรือซ่อมแซม ครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหาย จากการให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข เป็นครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่หน่วยบริการมีอยู่ แล้ว เป็นครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการให้บริการ สาธารณสุข หรือสนับสนุนการให้บริการ สาธารณสุข จึงไม่รวมถึงการจัดสวัสดิการแก่ บุคลากรของ หน่วยบริการ เช่น ที่พักอาศัยของ เจ้าหน้าที่ รถประจำตำแหน่ง เป็นต้น ห้ามใช้ในการจัดหาครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการ จัดบริการสาธารณสุข เช่น ห้องประชุม เป็นต้น

19 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการตรวจสอบ การบริหารจัดการ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน ปีงบประมาณ 2560 กรณีเงินค่าเสื่อม ประจำปีงบประมาณ 2560 1. อปสข. เป็นผู้พิจารณาอนุมัติแผนการ บริหารเงินค่าเสื่อม 2. สปสช. โอนเงินค่าเสื่อมทั้งหมดให้หน่วย บริการโดยตรง 3. เมื่อหน่วยบริการได้รับเงินแล้วให้จัดทำ ทะเบียนคุมเงินที่ได้รับ และออกใบเสร็จรับเงินโดยส่งต้นฉบับให้ สปสช. พร้อมเก็บรักษาสำเนา ไว้ให้ ตรวจสอบ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

20 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการตรวจสอบ การบริหารจัดการ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน ปีงบประมาณ 2560 4. หน่วยบริการที่ได้รับจัดสรรเงินค่าเสื่อม ประจำปี งบประมาณ 2560 จะต้องดำเนินการ จัดหาครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุฯ หรือระเบียบของหน่วย บริการนั้น โดยต้องก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายใน ปีงบประมาณ 2561 หากไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ตามที่กำหนดให้ส่งเงินที่เหลือคืนกองทุนฯ เว้นแต่มี เหตุผลและความจำเป็นให้หน่วยบริการขออนุมัติขยาย เวลาดำเนินการและขอเก็บรักษาเงินไว้จนกว่าจะ ดำเนินการแล้วเสร็จต่อ อปสข. เป็นกรณีๆ ไป 5. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ หน่วย บริการจะต้องขออนุมัติต่อ อปสข. 6. กรณีมีเงินเหลือจ่าย หน่วยบริการสามารถนำ เงินไปใช้เพื่อ การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานของหน่วยบริการ นั้นๆ ได้ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

21 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการตรวจสอบ การบริหารจัดการ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน ปีงบประมาณ 2560 7. หน่วยบริการที่ได้รับจัดสรรเงินค่าเสื่อม จะต้องรายงานผลการจัดหาครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้าง โดยการบันทึกโปรแกรมระบบรายงานการใช้จ่ายเงิน ค่าเสื่อมผ่านทาง Website ของ สปสช. 8. สปสช. และ สปสช.สาขาเขต จะต้อง ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็น ปัจจุบันของข้อมูลในรายงานผลการจัดหาใน โปรแกรมเงินค่าเสื่อม รวมทั้งกำกับ ติดตาม และสนับสนุนให้หน่วยบริการดำเนินการอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพต่อไป สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

22 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการตรวจสอบ การบริหารจัดการ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน ปีงบประมาณ 2560 กรณีเงินค่าเสื่อม ที่หน่วยบริการได้รับก่อน ปีงบประมาณ 2560 1. ให้หน่วยบริการจัดทำแผนการบริหารเงินค่า เสื่อมเพื่อขออนุมัติต่อ อปสข. ภายในวันที่ 12 ตุลาคม หากไม่ดำเนินการหรือดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ภายในกำหนด ให้ส่งเงินที่เหลือคืนกองทุนฯ 2. เมื่อได้รับอนุมัติจาก อปสข. แล้ว ให้ดำเนินการ จัดหาครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุฯ หรือระเบียบของหน่วย บริการนั้น โดยต้องก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายใน ปีงบประมาณ หากไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ตามที่กำหนดให้ส่งเงินที่เหลือคืนกองทุนฯ เว้นแต่มี เหตุผลและ ความจำเป็นให้หน่วยบริการขออนุมัติ ขยายเวลาดำเนินการและ ขอเก็บรักษาเงินไว้จนกว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จต่อ อปสข. เป็นกรณีๆ ไป สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

23 5.แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2560
การบริหารจัดการภายในเครือข่าย การบริหารจัดการระหว่างเครือข่าย การบริหารจัดการระบบส่งต่อ/เขตรอยต่อ การบริหารจัดการภายในเครือข่าย 1.การควบคุมรายรับ-รายจ่าย งบUC 1.1 Model การจัดสรร 1.2 Fixed cost รพ.สต. 1.3 การสนับสนุนยาและเวชภัณฑ์ 1.4 ทะเบียนคุมเงินกองทุน การบริหารจัดการระหว่างเครือข่าย 1. การเรียกเก็บ-ตามจ่ายค่าบริการ ทางการแพทย์ 1.1 การส่งต่อระหว่างหน่วยบริการ ประจำ 1.2 ตามเขตรอยต่อ 1.3 OP refer ( มอ.และต่างจังหวัด) การบริหารจัดการเขตรอยต่อ 1. การกำหนดพื้นที่รอยต่อ 1.1รอยต่อระหว่างอำเภอ 1.2รอยต่อระหว่างจังหวัด

24 3.1 ความเสี่ยงของการบริหารเงิน UC ปี 2560 เขตสุขภาพที่ 12
3. แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 3.1 ความเสี่ยงของการบริหารเงิน UC ปี เขตสุขภาพที่ 12 รพ.มีรายรับฺน้อยกว่าปี 2559 (หาดใหญ่/สงขลา/ตรัง/กันตัง/ป่าพะยอม/ทุ่งยางแดง) IP ส่งข้อมูลเป็นรายเดือน จะได้รับเงินช้า มีข้อตกลงในการจัดสรร Fix cost รพ.สต. ทารกแรกเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากไต เบิกจากกองทุน IP ปิด Global 60 อาจจะมีติดลบบางหน่วย OP refer (หนี้) ยังไม่รับรู้ทางบัญชี เงินรอจัดสรร (หนี้) จัดสรรล่าช้า การเปลี่ยนแปลง ระเบียบค่าตอบแทนฉบับใหม่ งบระดับประเทศ ปลายปี 300+1,300 ล้านบาท จะได้หรือไม่

25 3.2 นโยบายบริหารการเงินการคลัง เขตสุขภาพที่ 12
3. แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 3.2 นโยบายบริหารการเงินการคลัง เขตสุขภาพที่ 12 จัดทำคู่มือแนวทางการจัดสรรงบ UC ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ CFO มีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง จัดสรรงบให้ รพ.สต. รายเดือน ( fix cost และค่าตอบแทน) ข้อมูลผู้ป่วยใน ส่งไม่เกิน 1 เดือน (ถูกต้อง ทันเวลาและเป็นปัจจุบัน) พัฒนาคุณภาพบัญชี ให้เป็น ระดับ A ทุก รพ. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล งานประกันสุขภาพ & จัดเก็บรายได้ &งานการบัญชี ทุกเดือน บริหารแผนเงินบำรุง(Planfin) ต่างไม่เกิน 10% จากแผน (รายเดือน) ติดตามโดย CFO จังหวัด มีการปรับปรุงแผนเงินบำรุง(planfin) ทุก 3 เดือน ติดตามโดย CFO เขต มีการบริหารการตามจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เป็นรายเดือน

26 การเรียกเก็บ-ตามจ่ายค่าบริการทางการแพทย์
ตัวอย่าง การกันเงิน 10 % ประมาณการรายรับ OP IP PP หลังหักเงินเดือน คำนวณ 10 %ของยอดวงเงิน กันเงินตามยอดวงเงินจาก OP กันเงิน 20 % ตามจ่ายในเครือข่าย กันเงิน 80 % จ่ายนอกสังกัด & investigate วิธีที่ 1 แบบ Point System วิธีที่ 2 แบบจ่ายตามจริงไม่เกิน 700 บาทต่อครั้ง จ่าย รพศ.หาดใหญ่ จ่าย รพท.สงขลา จ่าย lab & MRI & CT จ่าย มอ. & นอกสังกัดอื่น จ่าย op refer 1,600 บาท

27 การกำหนดพื้นที่รอยต่อ
ประเด็น การลงทะเบียนสิทธิ UC 1 หน่วยปฐมภูมิ : หลายหน่วยบริการประจำ การตามจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เขตรอยต่อ

28 อำเภอจะนะ เขต จังหวัด หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ
จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 12 สงขลา สงขลา รพ.สงขลา รพ.สต.จะโหนง 1,470 รพ.จะนะ 912 รพ.นาหม่อม 191 รวมจำนวนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามที่ระบุเงื่อนไข 2,573 เขต จังหวัด หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 12 สงขลา สงขลา รพ.สงขลา รพ.สต.บ้านตรับ 2,625 รพ.จะนะ 179 รวมจำนวนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามที่ระบุเงื่อนไข 2,804 เขต จังหวัด หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 12 สงขลา สงขลา รพ.สงขลา รพ.สต.นาเสมียน 4,050 รพ.จะนะ 689 รวมจำนวนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามที่ระบุเงื่อนไข 4,739 เขต จังหวัด หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 12 สงขลา สงขลา รพ.สงขลา รพ.สต.นาทับ 5,795 รพ.จะนะ 74 รวมจำนวนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามที่ระบุเงื่อนไข 5,869

29 อำเภอสิงหนคร เขต จังหวัด หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ
จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 12 สงขลา สงขลา รพ.สงขลา รพ.สต.สถิตย์ 8,321 รพ.สิงหนคร 12 รวมจำนวนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามที่ระบุเงื่อนไข 8,333 เขต จังหวัด หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 12 สงขลา สงขลา รพ.สงขลา รพ.สต.หัวเขา 12,030 รพ.สิงหนคร 21 รวมจำนวนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามที่ระบุเงื่อนไข 12,051

30 อำเภอสะเดา หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนสิทธิUC
รพ.หาดใหญ่ รพ.สต.พังลา 449 รพ.สะเดา 763 รพ.ปาดังเบซาร์ 4 รวม 1,216 หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนสิทธิUC รพ.หาดใหญ่ รพ.สต.โคกเนียน 3,374 รพ.สะเดา 1,780 รพ.ปาดังเบซาร์ 49 รวม 5,203 หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนสิทธิUC รพ.หาดใหญ่ รพ.สต.คลองแงะ 4,858 รพ.สะเดา 4,722 รพ.ปาดังเบซาร์ 30 รวม 9,610 หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนสิทธิUC รพ.หาดใหญ่ รพ.สต.วังปริง 1,230 รพ.สะเดา 349 รพ.ปาดังเบซาร์ 2 รวม 1,581 หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนสิทธิUC รพ.หาดใหญ่ รพ.สต.ม่วงก็อง 332 รพ.สะเดา 194 รวม 526 หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวนสิทธิUC รพ.หาดใหญ่ รพ.สต.ท่าโต้ 2,136 รพ.สะเดา 986 รพ.ปาดังเบซาร์ 6 รวม 3,128

31 -กันเงิน Fixed cost รพสต.
ร่าง MODEL จัดสรร OP OP เหมาจ่าย จัดสรรตามผลงาน จัดสรร รพ.สต. จัดสรร รพ. -กันเงิน Fixed cost รพสต. - กันเงินค่ายา DM/HT - กันเงินตามจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ -เงินโอน -ยาและเวชภัณฑ์ วัสดุ -ค่าตรวจทางห้องปฎิบัติการ แนวทางการจัดสรรตามผลงาน ผู้ป่วยนอกเป็นครั้ง นำมาจัดสรรเป็น Point system with Global budget โดยให้ค่าน้ำหนัก รพ.สต point/ครั้ง รพช/รพท/รพศ point/ครั้ง

32 ร่าง MODEL จัดสรร PP PP เหมาจ่าย จัดสรรตามประชากร 20%
จัดสรรตามผลงาน 40 % จัดสรร รพ.สต. จัดสรร รพ. สนับสนุนโครงการ 40% จัดสรรตามประชากร 20% - กันเงินค่ายา เวชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์ วัสดุทันตกรรม ค่าตรวจทางห้องปฎิบัติการ แนวทางการจัดสรรตามผลงานบริการ - ANC - EPI คัดกรองภาวะซึมเศร้า ฯลฯ - PNC คัดกรอง DM/HT ประเมินพัฒนาการเด็ก - FP คัดกรอง มะเร็งปากมดลูก - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

33 ทะเบียนคุมเงินกองทุน
สรุปข้อมูลประจำปี ทะเบียนคุมแยกรายประเภท

34 ทะเบียนคุมเงินกองทุน

35 ทะเบียนคุมเงินกองทุน

36 ทะเบียนคุมเงินกองทุน

37 ทะเบียนคุมเงินกองทุน

38 1.ประสิทธิภาพการบริหารการเงินของเขตสุขภาพ
1. การบริหารการเงินการคลังของเขตสุขภาพ ปีงบประมาณ 2559 ประสิทธิภาพการบริหารการเงินของเขตสุขภาพ แผนภูมิ สถานการณ์ทางการเงินหน่วยบริการเขตสุขภาพที่ 12 จังหวัด ไตรมาส 3/59 ไตรมาส 4/59 จำนวน ร้อยละ สงขลา 3 4 23.53 สตูล 5 42.86 ตรัง 1 2 20.00 พัทลุง 6 45.45 ปัตตานี 16.67 ยะลา 12.50 รวม 16 17 21.79 ที่มา: วันที่ 16/11/59

39 แสดงสถานการณ์ทางการเงิน จำแนกตามระดับวิกฤติและขนาด รพ.

40 รพ.วิกฤติระดับ 7 จำแนกตามขนาด รพ.

41

42 สถานการณ์ NWC แยกรายกลุ่ม

43 แผนภูมิ สถานการณ์ทางการเงินหน่วยบริการ จังหวัดสงขลา
LOGO แผนภูมิ สถานการณ์ทางการเงินหน่วยบริการ จังหวัดสงขลา วิกฤติระดับ 7 เครือข่าย ปี 2557 ปี 2558 ปี2559 1 2 3 4 สทิงพระ 7 กระแสสินธุ์ นาหม่อม ควนเนียง บางกล่ำ 5 สิงหนคร คลองหอยโข่ง หมายเหตุ Q4y58 รพ.จะนะ ระดับ 7 ที่มา: วันที่ 08/08/59

44 กลวิธีการเฝ้าระวังทางการเงิน ประสิทธิภาพการเงินการคลัง
Planfin ผลต่าง < 10% FAI คะแนน > 90% จัดซื้อร่วม >20 % ประสิทธิภาพการเงินการคลัง วิกฤติ7=0 Unit cost < 17% (ไม่เกินค่ากลาง) คุณภาพบัญชี 100 % CFO มีศักยภาพ

45 ผลการดำเนินงาน รพ.ที่ต้องเฝ้าระวังทางการเงิน
planfin ผลเทียบรายได้-ค่าใช้จ่าย ประสิทธิภาพการบริหารการเงินฯ (FAI) คุณภาพบัญชี อัตราครองเตียง ต้นทุนบริการ : Quick Method จัดซื้อยาร่วม

46 Planfin ปี 2560 ระดับเขต(21 ต.ค.59)
NI (ล้านบาท) EBITDA (ล้านบาท) วงเงินที่ลงทุนได้(ร้อยละ 20%ของ EBITDA) (ล้านบาท) ข้อมูล ณ 30 มิ.ย. 59 NWC (ล้านบาท) เงินบำรุงคงเหลือ (ล้านบาท) หนี้สินและภาระผูกพัน (ล้านบาท) 1 568 147 29 4,238 4,809 3,267 2 666 343 69 1,237 2,791 1,071 3 677 202 40 382 1,080 1,364 4 -310 -103 -21 2,549 3,129 2,830 5 26 66 13 2,116 3,729 4,545 6 1,124 873 175 5,497 7,291 3,473 7 375 252 50 2,926 3,184 37,530 8 836 773 155 2,010 3,087 3,292 9 -218 522 104 4,934 5,788 3,674 10 438 555 111 2,932 4,473 2,885 11 1,636 988 198 2,100 3,457 3,407 12 583 782 156 2,042 3,561 2,870

47 Planfin ปี 2560 ระดับจังหวัด(21 ต.ค.59)
NI (ล้านบาท) EBITDA (ล้านบาท) วงเงินที่ลงทุนได้(ร้อยละ 20%ของ EBITDA) (ล้านบาท) ข้อมูล ณ 30 มิ.ย. 59 NWC (ล้านบาท) เงินบำรุงคงเหลือ (ล้านบาท) หนี้สินและ ภาระผูกพัน (ล้านบาท) เขต 583 782 156 2,042 3,561 2,870 ตรัง 47 55 11 361 505 499 นราธิวาส 49 128 26 538 667 306 ปัตตานี 256 176 35 73 471 412 พัทลุง -30 32 6 -6 160 257 ยะลา 103 123 25 457 706 359 สงขลา 94 208 42 672 921 793 สตูล 65 59 12 -54 131 244

48 แนวทางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis
Risk Factors Key Factors How to 1.ความเสี่ยง ด้านกระแสเงินสด EBITDA ปรับให้ EBITDA บวก เพื่อมีกระแสเงินสดเพียงพอ ในการดำเนินงานและลงทุน ลดความเสี่ยงในการขาดสภาพคล่อง -จัดซื้อร่วมในอัตราที่ต่อปีเพิ่มขึ้น ทำ RDU ลดมูลค่าใช้ยา -ควบคุมกำกับสัดส่วนค่าแรงต่อรายจ่ายให้เป็นไปตาม FTE ในระดับที่เหมาะสม ให้ FTE ไม่เกิน 100 % ถ้า FTE เกิน 100 % ต้องมีแผน LOI เพิ่ม productivity ถ้าไม่มีพิจารณาปรับย้าย -เพิ่มสัดส่วนรายได้ NonUc เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด จากการทำ Service plan เพิ่มการตรวจสุขภาพประจำปี แนวทางเก็บเงินผู้ป่วยนอกเวลา กระจายความเสี่ยงโครงสร้างรายได้ (Revenue Diversify) 2.ความเสี่ยง ด้านการลงทุน Investment < 20% EBITDA เพื่อป้องกัน Over Investment และ ทำให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายผูกพันในระยะยาว -ทบทวน ศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุนมีการลงทุนจากทุกแหล่งเงินที่เหมาะสมโดยขออนุมัติจังหวัด เขต -ถ้า EBITDA และ NWC ติดลบ ให้ชะลอการลงทุน ด้วยเงินบำรุง ต้องใช้งบประมาณลงทุนเท่านั้นหรือต้องปรับเกลี่ยภายในจังหวัดเพื่อลงทุนแทน 3.ความเสี่ยง ด้านเงินทุนหมุนเวียน สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน เพื่อให้มีเงินทุนหมุนเวียนเพียงพอในการดำเนินงานและลดความเสี่ยงในการขาดสภาพคล่อง อันจะนำไปสู่วิกฤติการเงิน -กำหนดนโยบายวงจรเงินสด (Cash cycle) ที่เหมาะสม เก็บหนี้ ชำระหนี้ วัสดุคงคลังให้หน่วยงานมีเงินสดเพียงพอในการดำเนินงาน -หาแหล่งเงินทุน มีแผนการจัดหาเงินบริจาคประจำปี -กรณีไม่มี/ไม่พอ หน่วยบริการที่ไม่มีเงินทุนไม่พอ เขตเป็นคนกลาง (ธนาคารเขตสุขภาพ) ในการทำ LOAN with LOI มีการผ่อนชำระคืนตามกำหนด -โรงพยาบาลที่มีวิกฤตการเงินต้องทำ Business plan และ LOI

49 ตารางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis
แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal การปรับ PlanFin 1 Normal ไม่ต้องปรับ 2 Risk ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง 3 ทำ Feasibility study 4 ปรับลดการลงทุนให้ < 20% EBITDA เพื่อเงินเหลือจาก EBITDA – ลงทุน จะไปเพิ่ม NWC

50 PlanFin แบบ 5 Risk Normal ปรับ EBITDA ให้เป็น + 6
ตารางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal การปรับ PlanFin 5 Risk Normal ปรับ EBITDA ให้เป็น + 6 และ ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง เพื่อเงินเหลือจาก EBITDA – ลงทุน จะไปเพิ่ม NWC 7 และ ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง ควร ลงทุนให้ < 20% EBITDA ทำ Feasibility study 8 และ ชะลอการลงทุน

51 ระดับความเสี่ยง จำนวน
ตารางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal ระดับความเสี่ยง จำนวน 1 Normal 10 2 Risk + 39 3 17 4 ++ 11 5 6 7 8 +++

52 วิเคราะห์ความเสี่ยง planfin เปรียบเทียบก่อนและหลังปรับปรุง
ข้อมูล ณ 13 ตุลาคม 2559 ข้อมูล ณ 28 ตุลาคม 2559


ดาวน์โหลด ppt ประชุมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google