ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม 1 กุมภาพันธ์ 2550
2
การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 3 ในปีพ. ศ
การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 3 ในปีพ.ศ.2547 เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ : ใช้แบบสอบถาม การตรวจร่างกาย : สภาพทั่วไป น้ำหนัก / ส่วนสูง เส้นรอบเอว ชีพจร ความดันโลหิต การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจเลือด
3
จำนวนตัวอย่างใน การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 ในปี 2547
กลุ่มอายุ ชาย หญิง รวม 60-69 ปี 5323 5635 10958 70-79 ปี 3372 3574 6946 80 ปีขึ้นไป 690 709 1399 9385 9918 19303
4
สภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย
มาตรการเสริมสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ได้แก่ ลดโรคทางกาย จิต และประสาทสัมผัส ลดการพึ่งพาในกิจวัตรประจำวัน ในบ้าน นอกบ้าน ความเกื้อหนุนที่พอเพียงด้านสังคม ได้แก่ หลักประกันรายได้ ที่อยู่อาศัย และ สุขภาพ การดำรงคงไว้ในวิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ และความปลอดภัย
5
ประเด็นที่หนึ่ง ความชุกของโรค ปัจจัยเสี่ยง และ ภาวะมีโรคประจำตัวหลายโรค
ถามว่าในเวลา 1 ปีที่ผ่านมาได้เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งใน 11 โรคหรือหลายโรค ใน 11 โรคที่พบได้บ่อย คือ หอบหืด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง โลหิตจาง ปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ไขมันในเลือดสูง ไตวาย อัมพฤกษ์ วัณโรค และ ข้อเสื่อม
6
ความชุกของการมีโรคประจำตัวหลายโรค เปรียบเทียบระหว่าง การสำรวจครั้งที่ 2 และครั้งที่3
ปี 2539 ปี 2547 ทั้งสองเพศ เพศชาย เพศหญิง ไม่เป็นโรค 27.6 13.0 13.6 9.9 เป็นมากกว่า 1 โรค 72.4 87.0 84.4 90.1 min,max ของจำนวนโรค 1,8 1,7 Asthma,cancer,,anemia,COPD,hypercholesterol,renal failure,diabetes,high blood pressure paralysis,TB, ข้อเสื่อม
7
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ
8
ปัญหาเรื่องฟัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 8 และ 9 ได้กำหนดว่า
ผู้สูงอายุควรมีฟันบดเคี้ยวไม่น้อยกว่า 20 ซี่ และควรได้รับบริการฟันปลอมเพื่อคงสภาพทำหน้าที่ได้ หากมีฟันน้อยกว่ากำหนด
9
ปัญหาเรื่องฟัน
10
อัตราความชุกของภาวะเรื้อรัง
11
ประเด็นที่ 2 ภาวะการสะสมของโรคเรื้อรัง
ประเด็นที่ 2 ภาวะการสะสมของโรคเรื้อรัง โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเป็นโรคที่สะสมมาตั้งแต่วัยกลางคน ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และ โลหิตจาง ฯลฯ
12
ความชุกของผู้ที่อายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง(Systolic BP>140 or diastolic BP >90 mm hg)
13
ความชุกของผู้ที่อายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีไขมันในเลือดสูง (ระดับไขมันรวม ≥ 240mg/dl )
14
ความชุกของผู้ที่มีอายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน (ระดับน้ำตาลในเลือด FBS>126 mg/dl)
15
ระดับของมาตรการป้องกัน
ลดอุบัติการณ์ของปัจจัยเสี่ยงและโรค ลดความชุกของโรคโดยทำให้ระยะการเป็นสั้นลง มาตรการเพื่อลดภาวะเสื่อมถอยทุพพลภาพ มาตรการเหล่านี้จึงจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่วัยกลางคน เพื่อลดภาระโรคในผู้สูงอายุ
16
ประเด็นที่ 3 การเข้าถึงบริการ ได้การรักษาและ ควบคุมได้ของกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อชี้วัดความคลอบคลุมและคุณภาพบริการ โดยจำแนกผู้ที่ตรวจพบว่าเป็นโรค เป็น 4 กลุ่ม คือ ไม่ทราบว่าเป็น ไม่เคยตรวจ ทราบว่าเป็น แต่ไม่ได้รักษา ทราบว่าเป็น ได้รับการรักษาด้วยยา แต่คุมไม่ได้ รักษา และ ควบคุมได้ พบระดับปกติจากการตรวจเลือด
17
ความดันโลหิตสูง เกณฑ์:-
ผู้ที่ Systolic BP เฉลี่ยตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือ ผู้ที่ Diastolic BP เฉลี่ยตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือ ผู้ที่กำลังได้รับการรักษาด้วยการรับประทานยาลดความดันโลหิต กลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมได้ หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการ รักษาด้วยยาลดความดันโลหิต และตรวจวัดความดันโลหิต พบว่า SBP < 140 mmHg และ DBP < 90 mmHg .ในวันสัมภาษณ์
18
เบาหวาน เกณฑ์:- หมายถึงผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar ≥ 126 mg/dl หรือ เป็นผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยการรับประทานยาลดน้ำตาลในเลือดหรือฉีด อินซูลิน กลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมได้ หมายถึง ผู้สูงอายุที่ได้รับการ รักษาด้วยยาลดน้ำตาลในเลือดหรือฉีดอินซูลิน และตรวจพบ FBS < 140 mg/dlในวันสัมภาษณ์
19
ความชุกของเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และทั้งสองโรค
20
ระดับของการรับบริการ
21
ลักษณะของผู้สูงอายุและการส่งเสริมความเป็นอยู่ดี
เป็นหลายโรคพร้อมๆกัน ที่ควรควบคุมได้ด้วยบริการสุขภาพ กินยาหลายอย่างเป็นประจำ มีการควบคุมเฉพาะยาที่จำเป็น ต้องการความเป็นส่วนตัวมากขึ้น ผู้อยู่ด้วยมีความเข้าใจ แยกตัวจากจากสังคม ให้มีกลุ่มเพื่อนร่วมรุ่นหรือชมรมผู้สูงอายุด้วยกัน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.