งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการวินิจฉัยและดูแล รักษาโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการวินิจฉัยและดูแล รักษาโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการวินิจฉัยและดูแล รักษาโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘
Hospital for Tropical Diseases, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University แนวทางการวินิจฉัยและดูแล รักษาโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาสตราจารย์ศรีวิชา ครุฑสูตร WHO Collaborating Centre for Clinical Management of Malaria

2 Etiology Infection of red blood cells Genus Plasmodium
Inoculated into the human hosts: Anopheline mosquito

3 Etiology Human malaria: Animal malaria: P. falciparum P. vivax
P. malariae P. ovale curtisi P. ovale wallikeri Animal malaria: P. knowlesi

4 Clinical Manifestations
Pre-patent period: Time taken from infection to symptoms P. falciparum 6-12 days P. vivax days P. ovale 14 days P. malariae days

5 Clinical Manifestations
First symptoms: Non-specific Systemic viral illness Headache, lassitude, fatigue, abdominal discomfort & muscle & joint aches Followed by fever, chills, perspiration, anorexia, vomiting & worsening malaise

6 Diagnosis Effective disease management: Diagnosis:
Prompt & accurate diagnosis Diagnosis: Clinical diagnosis Parasitological diagnosis

7 Parasitological Diagnosis
Advantages: Improved patient care Parasite negative: Another diagnosis must be sought Prevention of unnecessary exposure to antimalarial Improved health information Confirmed treatment failures

8 Parasitological Diagnosis
Light microscopy: Low cost High sensitivity & specificity Rapid diagnostic tests: (RDT): More expensive Sensitivity & specificity are variable (temperature & humidity)

9 Type of Rapid Diagnostic Tests
Histidine-rich protein-2 (HRP-2): Specific for P. falciparum Parasite specific pLDH: Available as P. falciparum specific, pan-specific & P. vivax specific pLDH Ab Aldolase (panspecific): 2 Ags: Major enzymes in glycolytic pathway

10 การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง มาลาเรียรุนแรง/ มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มรักษาล้มเหลว

11 การรักษาผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
การรักษาผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน

12 ฟัลซิปารัมมาลาเรีย ขนาดที่หนึ่ง: DHA-Piperaquine วันละครั้ง นาน 3 วัน
ร่วมกับ Primaquine การติดตาม: วันที่ 3, 7, 28 และ 60

13

14

15 ฟัลซิปารัมมาลาเรีย น้ำหนัก (กก) DHA-Piperaquine มก/วัน เม็ด/วัน
11 - < 17 40/320 1 17 - < 25 60/480 1 1/2 25 - < 36 80/640 2 36 - < 60 120/960 3 60 - < 80 160/1280 4 > 80 200/1600 5

16 ฟัลซิปารัมมาลาเรีย น้ำหนัก (กก) (อายุ, ปี) Primaquine (มก)
(ขนาดยาและเม็ด) 11 – 14 (1-2 ปี) 5 5 มก, 1 เม็ด 15 – 24 (3-7 ปี) 10 5 มก, 2 เม็ด 25 – 50 (8-13 ปี) 15 15 มก, 1 เม็ด > 50 (> 14 ปี) 30 15 มก, 2 เม็ด

17 ไวแวกซ์, โอวาเล่มาลาเรีย
ขนาดที่หนึ่ง: Chloroquine และ Primaquine โดยใช้ตารางการรักษาเช่นเดิม วันละครั้ง นาน 14 วัน การติดตาม: วันที่ 14, 28 และ 60

18 ไวแวกซ์, โอวาเล่มาลาเรีย
น้ำหนัก (กก) (อายุ, ปี) วันที่ 0 วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3-13 รวมยาที่จ่าย C (เม็ด) P (มก) <11 (<1) 2 1 4 11-14 (1-2) 15-24 (3-7) 3 5 70 25-50 (8-13) 10 6 140 >50 (>14) 15 210

19 มาลาเรียอีมาลาเรีย ให้การรักษาเช่นเดิม
การติดตาม: เช่นเดียวกับฟัลซิปารัมมาลาเรีย

20 มาลาเรียชนิดผสม หากพบร่วมกับฟัลซิปารัม: หากไม่พบร่วมกับฟัลซิปารัม:
รักษาแบบฟัลซิปารัม ร่วมกับ Primaquine 14 วัน ติดตามการรักษา: เช่นเดียวกับฟัลซิปารัม หากไม่พบร่วมกับฟัลซิปารัม: รักษาแบบไวแวกซ์ ติดตามการรักษา: เช่นเดียวกับไวแวกซ์

21 การดูแลรักษาโรคไข้มาลาเรียกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง

22 กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี หรือน้ำหนักน้อยกว่า 11 กก หญิงตั้งครรภ์ มารดาที่กำลังให้นมบุตร ผู้ที่มีประวัติหรือผู้ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์จี-6-พีดี ผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียชนิดโนเลซี ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานยาเม็ดได้ หรืออาเจียน แพ้ยาต้านมาลาเรีย พบเชื้อชนิดฟัลซิปารัมมากกว่า 1,250 ตัวต่อเม็ดเลือดขาว 100 ตัว หรือ 100,000 ตัวต่อไมโครลิตร หรือพบเชื้อระยะแบ่งตัว

23 เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี หรือน้ำหนักน้อยกว่า 11 กก
เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี หรือน้ำหนักน้อยกว่า 11 กก ฟัลซิปารัม DHA-Piperaquine น้อยกว่า 5 กก: Quinine SO4 10 mg/kg tid + Clindamycin 10 mg/kg bid for 7 days ไวแวกซ์ หรือโอวาเล่ Chloroquine

24 หญิงตั้งครรภ์ ฟัลซิปารัม ไวแวกซ์ หรือโอวาเล่ ไตรมาสที่ 1
Quinine SO4 2 tabs tid + Clindamycin 300 mg bid for 7 days ไตรมาสที่ 2 และ 3 DHA-Piperaquine ไวแวกซ์ หรือโอวาเล่ Chloroquine นาน 3 วัน

25 มารดาที่กำลังให้นมบุตร
ให้ยาตามชนิดที่ตรวจพบ ยกเว้นไม่จ่ายยา Primaquine Primaquine ให้ได้ในรายที่มารดาและบุตรไม่มีภาวะพร่องเอนไซม์จี-6-พีดี

26 ผู้ที่มีประวัติ หรือ ผู้ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์จี-6-พีดี
ผู้ที่มีประวัติ หรือ ผู้ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์จี-6-พีดี ไวแวกซ์ หรือโอวาเล่ Primaquine 0.75 mg/kg weekly for 8 weeks

27 Effect of Primaquine Standard Dose (15 mg/day for 14 days) in G6PD Deficiency in Thailand
Buchachart K, Krudsood S, Looareesuwan S, et al. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2001

28 Effect of Primaquine (15 mg/d x 14 days) on Hematocrit
HCT (%) Normal G6PD (N=360) G6PD Deficient (N=35) Buchachart K, Krudsood S, Looareesuwan S, et al. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2001

29 Tolerability of Weekly Administration
45 mg or 60 mg for 8 week Well tolerated Cure rate: High than daily and weekly (30, 45, 60 mg) dose Occasional: Intestinal cramps Loose bowel movement Hemolysis lasted for 2-3 days

30 โนเลซีที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
Chloroquine นาน 3 วัน

31 ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานยาเม็ดได้ หรืออาเจียน
Artesunate 2.4 mg/kg IV followed by 2.4 mg/kg at 12 h and 24 h then OD น้ำหนักน้อยกว่า 20 กก ให้ Artesunate ขนาด 3 มก/กก

32 ผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยาต้านมาลาเรีย
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

33 ตรวจพบเชื้อชนิดฟัลซิปารัมจำนวนมาก
DHA-Piperaquine ติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิด

34 กลุ่มรักษาล้มเหลว ฟัลซิปารัม
Quinine SO4 + Clindamycin, Doxycycline, Tetracycline Artesunate + Clindamycin, Doxycycline, Tetracycline Atovaquone-Proguanil Artemether-Lumefantrine

35 กลุ่มรักษาล้มเหลว ไวแวกซ์ หรือโอวาเล่ Primaquine 0.5 mg/kg

36 กลุ่มรักษาล้มเหลว ฟัลซิปารัม
Quinine SO4 + Clindamycin, Doxycycline, Tetracycline Artesunate + Clindamycin, Doxycycline, Tetracycline Atovaquone-Proguanil Artemether-Lumefantrine

37 ศรีวิชา ครุฑสูตร: กอบศิริ เฉลิมรัฐ: นันทพร โพธิ์ภักดิ์: สำนักงาน:


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการวินิจฉัยและดูแล รักษาโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google