งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบพลังงานโลก วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบพลังงานโลก วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบพลังงานโลก วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2 พลังงานกับสิ่งแวดล้อม
ความสำคัญของพลังงานต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ ระบบพลังงานของโลกและประเทศไทย และแนวโน้ม ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากระบบพลังงานปัจจุบันและแนวทางแก้ไข บทบาทของ ว. และ ท. ในการแก้ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การศึกษาและการพัฒนากำลังคนเพื่อการได้มาซึ่งระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

3 ความสำคัญของพลังงานต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ
พลังงานมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพชีวิต เป็นปัจจัยที่ 5 เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทาง ว.และ ท. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ ความเข้มแข็งทางทหาร การศึกษา ฯลฯ แผนความมั่นคง ด้านพลังงานของประเทศ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

4 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
โลกใช้พลังงานในปริมาณมหาศาล น้ำมันดิบ : 80 ล้านบาร์เรล/วัน หรือ 12,720 ล้านลิตร/วัน พลังงานไฟฟ้า : 43,000 ล้าน kWh/วัน ความไม่สมดุลของการใช้พลังงานของประเทศต่างๆ การใช้พลังงาน (2004) พลังงานเบื้องต้น พลังงานไฟฟ้า (Primary Energy) kWh/คน Mtoe/คน เฉลี่ยต่อคนของโลก ,516 เฉลี่ยต่อคนของ US ,338 เฉลี่ยต่อคนของญี่ปุ่น ,076 เฉลี่ยต่อคนของไทย ,865 จำนวนรถส่วนตัวต่อประชากร 1,000 คน US : จีน : 9 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก แหล่งข้อมูล : (1) IEA Energy Statistics (2) Time, March 16, 07

5 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
การใช้พลังงานของโลก (2006) : 12,000 Mtoe (ประมาณ) (Source: IEA World Energy Outlook 2006) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

6 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
แนวโน้มของความต้องการพลังงานของโลก จากปี 2002 จนถึง 2030 ความต้องการพลังงานเบื้องต้นของโลกจะเพิ่มขึ้น 60% (เพิ่มขึ้นปีละ 1.7% โดยเฉลี่ย) พลังงานฟอสซิล (น้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ) มีส่วนถึง 85% ในการรองรับการเพิ่มขึ้นนี้ แหล่งพลังงานฟอสซิลของโลกยังสามารถรองรับการเพิ่มขึ้นนี้ได้จนถึงปี 2030 แหล่งข้อมูล : IEA World Energy Outlook 2004 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

7 ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งน้ำมันของโลก
Source : IEA World Energy Outlook 2004 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

8 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
พลังงานฟอสซิลที่เหลือ ในอัตราการใช้ในปัจจุบัน แหล่งพลังงานฟอสซิลสำคัญๆ ที่เหลืออยู่จะใช้ต่อไปได้อีกดังนี้ น้ำมัน ปี ก๊าซธรรมชาติ ปี ถ่านหิน ปี 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

9 อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อพลังงานฟอสซิลหมดลง
Source : Susumu Yoda, “TRILEMMA”, CRIEPI, Japan, 1995 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

10 ระบบพลังงานของประเทศไทย
Total Thailand Primary Energy Consumption in 2004 : ≈ 100 Mtoe แกลบ ซานกอ้อย Source : Thailand Energy Statistics, DEDE, 2004 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

11 Energy Sources for Electricity Generation
1999 2004 Source : Electric Power in Thailand, DEDE, 2003 : Thailand Energy Statistics, DEDE, 2004 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

12 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
การซื้อพลังงานเข้าประเทศไทย พลังงานฟอสซิล (2004) >70% พลังงานไฟฟ้า (2004) ≈ 3% มูลค่าการนำเข้าพลังงาน (2005) >10% GDP มูลค่าพลังงานที่ใช้ในประเทศ = ล้านล้านบาท ≈ 15% GDP GDP : Gross Domestic Product มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายในตลาด 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

13 การเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากการเผาเชื้อเพลิงฟอสซิล
ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน การเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากการเผาเชื้อเพลิงฟอสซิล เชื้อเพลิงฟอสซิล (น้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ) มีคาร์บอน (C) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ การเผาเชื้อเพลิงฟอสซิลทำให้เกิดก๊าซ CO2 ซึ่งเข้าสู่บรรยากาศของโลก CO2 เถ้า ความร้อน C + CO2 + ของเสียซึ่งทำให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม เข้าสู่บรรยากาศ นำไปใช้ประโยชน์ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

14 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
ระบบพลังงานของโลกปัจจุบันไม่ยั่งยืนเพราะก่อให้เกิดปัญหา สิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง Environmental Problems Caused by Use of Energy by Human: Global Level: CO2 emissions (75% of greenhouse gases) Climate change global warming Regional Level: SO2 emissions acid rain (ฝนกรด) Local Level: Particulates แตกตัวเป็นอนุภาคต่างๆ NOx

15 การเพิ่มขึ้นของ CO2-Emissions
ปัญหาระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของ CO2-Emissions (Source: IEA World Energy Outlook 2004) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

16 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
ผลกระทบของการเพิ่มขึ้นของก๊าซ CO2 ใน บรรยากาศ : ก๊าซ CO2 มีคุณสมบัติคล้ายกระจกซึ่งเรียกกันว่า greenhouse gas หรือ ก๊าซเรือนกระจก ซึ่งทำให้โลกร้อนขึ้น (global warming) และทำให้เกิดการแปรปรวนของภูมิอากาศของโลก (climate change) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

17 โลกร้อนแล้วเกิดอะไรขึ้น
การหมุนเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร และอุณหภูมิผิวน้ำ การละลายของน้ำแข็งขั้วโลก และระดับน้ำทะเลสูงขึ้น การระเหยของน้ำและการก่อตัวของเมฆ ฯลฯ สภาพภูมิอากาศแปรปรวน สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

18 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
Evidences of Climate Change: CO2- concentrations in the atmosphere have been rising continuously to 380 ppm in 2006. Since 1900 the global average surface temperatures have rise by 0.6 Ċ Sea levels are rising by about 1 cm per decade. Arctic sea ice thicknesses have declined significantly in the past 40 years. The link between the higher concentrations of co2 in the atmosphere and human activities causing these emissions is already unquestionable. 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

19 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
Possible Consequence of Climate Change A complete melting of the Greenland ice sheet will result in the rise of sea level of about 7 meters. Projected climate change during this century has potential to lead to future large scale and possibly irreversible changes. The range of global warming for the 21st century has been estimated by the IPCC to be from 1.4 to 5.8 Ċ. Changes caused by global warming may not be linear, but they may be exponential and irreversible. 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

20 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
Melting moments Source: The Economist, July 6th, 2002 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

21 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

22 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

23 สรุปผลกระทบของ Global Warming
ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน สรุปผลกระทบของ Global Warming อุณหภูมิของผิวโลกสูงขึ้น ซึ่งทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น จำนวนพายุจะมากขึ้นและรุนแรงขึ้น น้ำท่วมรุนแรงขึ้น ความแห้งแล้งรุนแรงขึ้น ซึ่งทำให้เกิดไฟไหม้ป่ามากขึ้น เกิดผลกระทบในทางลบต่อสุขภาพมนุษย์มีโรคใหม่ๆเกิดขึ้น การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ๆขึ้น 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

24 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกของการใช้พลังงานฟอสซิลมีแนวโน้มที่จะรุนแรงมาก: “Changes caused by global warming may not be linear, but they may be exponential and irreversible.” การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดโรคร้อนอาจจะไม่เป็นไปในแนวตรงๆแต่อาจจะเปลี่ยนจากการกระทำของมนุษย์และจะไม่สามารถกลับมาได้เลย 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

25 ปัญหาของระบบพลังงานของโลกในปัจจุบัน
ประเด็นที่น่าเป็นห่วงจาก global warming: The energy related environmental problems could threaten the survival of humanity. Global Warming and Mass Extinctions. Can technology save the planet ? Extinctions การสูญพันธุ์ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

26 การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้พลังงาน
ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับภูมิภาค (SO2) และท้องถิ่น (NOx) และฝุ่นละออง แก้ได้โดยใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่แล้ว ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลกที่เกิดจาก CO2-emissions แก้ได้ยากมาก มีหลักฐานชัดเจนว่าในช่วง 100,000 ปีที่ผ่านมา ความเข้มข้นของก๊าซ CO2 มีค่าอยู่ระหว่าง ppm และเพิ่มเป็น 380 ppm ในปี 2006 ในช่วง140 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิของผิวโลกค่อนข้างคงที่และเปลี่ยนแปลงไม่เกิน 0.50C 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

27 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
อุณหภูมิที่คงที่เป็นเวลานานทำให้เกิดภูมิอากาศที่เหมาะสมสำหรับพัฒนาการเกษตรของมนุษย์ ซึ่งทำให้เกิดอารยธรรมของอียิปต์ จีน และโรมัน การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิของผิวโลกมากขึ้น อาจทำให้ภูมิอากาศของโลกที่ไม่เหมาะสมกับมนุษย์ที่จะอยู่ได้ ได้มีการตกลงกันที่จะพยายามมีมาตรการที่รักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซ CO2 ในบรรยากาศให้ไม่เกิน 550 ppm ในปี 2100 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

28 แนวทางการลด CO2-Emissions
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (EE) เปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงที่ให้ก๊าซ CO2 น้อย (Fuel Switching) เพิ่มการใช้พลังงานหมุนเวียน (RE) (พลังน้ำ, ชีวมวล, แสงอาทิตย์, ลม ฯลฯ) เพิ่มการใช้พลังงานปรมาณู (Nuclear Fission) การเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ การใช้เทคโนโลยี CO2-Capture and storage (CCS) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

29 ปัญหาในการลด CO2-Emissions
การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานต้องมีการลงทุนเพิ่ม พลังงานหมุนเวียนส่วนใหญ่ยังมีราคาแพงกว่าพลังงานฟอสซิล พลังงานปรมาณูมีปัญหาด้านความปลอดภัยและการลงทุนสูง เทคโนโลยี CCS ยังไม่สมบูรณ์และต้องมีการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

30 การแก้ปัญหาการเพิ่มขึ้นของก๊าซ CO2 ระดับนานาชาติ
Kyoto Protocol (พิธีสารเกียวโต) Kyoto Protocol (ตกลงกันเมื่อ 1997) กำหนดให้ประเทศ OECD และกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกลด CO2-emissions ลงให้ต่ำกว่าระดับของปี % ภายในปี 2012 ประเทศกำลังพัฒนาไม่มีพันธะที่จะต้องลด CO2-emissions Kyoto Protocol ได้รับการลงสัตยาบรรณเมื่อ 2548 การลด CO2-emissions จนถึงยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย Kyoto Protocol อเมริกายังไม่ลงสัตยาบรรณ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

31 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
การเจรจาเพื่อลด CO2- Emissions หลัง (Post-Kyoto Protocol Consensus) การเจรจาจะบรรลุข้อตกลงได้ยากเพราะ การลด CO2-Emission จะกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างรุนแรงเนื่องจากต้องใช้พลังงานที่ราคาสูงขึ้น ก๊าซ CO2 ที่อยู่ในบรรยากาศในปัจจุบันส่วนใหญ่ถูกปล่อยจากประเทศอุตสาหกรรมดั่งเดิม (US, EU, Japan) การเจรจาที่ผ่านมา ทีมของอเมริกาและออสเตรเลีย และทีมของจีนและอินเดีย เป็นปัญหาในการจะให้เกิดการบรรลุข้อตกลง หากยังไม่มีผลกระทบจาก global warming ที่รุนแรงขึ้น จะบรรลุข้อตกลงได้ยาก การประชุมครั้งต่อไปจะมีขึ้นที่เมือง Bali ประเทศอินโดนีเซีย 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

32 แผนการลด CO2- Emissions ของ EU
กลุ่มประเทศ EU โดยการนำของเยอรมนีได้มีข้อตกลงที่จะลด CO2- Emission เมื่อต้นเดือนมีนาคม 2550 ดังนี้ เป้าหมาย จำกัดการเพิ่มอุณหภูมิโลกให้ไม่เกิน 20C ลด CO2- Emissions ของ EU อย่างน้อย 20% จากระดับปี 1990 ภายในปี2020 หากประเทศอื่น เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย จีน และอินเดีย เข้าร่วมด้วย จะตัด CO2- Emissions ถึง 30% แผนการใช้พลังงาน ใช้พลังงานหมุนเวียน 20% ของพลังงานที่ใช้ทั้งหมดภายในปี 2020 ใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ (ethanol และ biodiesel) เป็นเชื้อเพลิงขนส่งอย่างน้อย 10% ในปี 2020 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

33 เทคโนโลยีพลังงานที่จะมีผลกระทบต่อโครงสร้างการใช้พลังงานของโลก
Carbon capture and storage (CCS) (2015) Next generation nuclear fission technologies (gen.III+and gen.IV) ( ) Nuclear fusion (2050) Cellulosic ethanol (Second generation biofuel technology) Next generation PV Plug-in hydrid vehicles: ยานพาหนะไฟฟ้า Large scale energy storage systems for intermittent power sources Fuel cell : เซลล์เชื้อเพลิง Improved lithium ion battery Deep sea wind turbines : กังหันน้ำ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

34 ผลของเทคโนโลยีพลังงานใหม่
Carbon capture and storage (CCS) หากพัฒนาได้สำเร็จ (ภายใน 10 ปี) จะทำให้สามารถใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้โดยไม่มีปัญหาการปล่อยก๊าซ CO2 Nuclear fusion (NF) หากการวิจัยประสบความสำเร็จ (หลังปี 2050) จะทำให้โลกมีแหล่งพลังงานสะอาดอย่างไม่จำกัด (ใช้น้ำทะเลเป็นเชื้อเพลิง) Cellulosic ethanol (Second generation biofuel technology) จะผลิต ethanol จากวัสดุชีวมวลที่หลากหลายขึ้น และทำให้ศักยภาพการผลิต ethanol เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสูงขึ้นมาก Plug-in hybrid vehicle และ improved lithium-ion battery จะลดการใช้เชื้อเพลิงเหลวในการขนส่งลงอย่างมีนัยสำคัญ Next generation PV จะทำให้การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์แข่งขันกับเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

35 CO2 Storage in National Gas Field in Norway
เทคโนโลยี Carbon Capture and Storage (CCS) CO2 Storage in National Gas Field in Norway 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

36 ระบบพลังงานของประเทศไทย
แหล่งพลังงานภายในประเทศ พลังน้ำ พัฒนาไปแล้ว 3,000 MW ยังพัฒนาเพิ่มได้อีก 8,000 MW ลิกไนท์ ได้สร้างโรงไฟฟ้าลิกไนท์แล้ว 2,400 MW หากใช้ในอัตราปัจจุบันมีลิกไนท์ที่จะ ใช้ต่อไปได้อีก 60 ปี พลังงานหมุนเวียน ชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานขนาดเล็ก ไม่สามารถพัฒนาเพิ่มได้เพราะการต่อต้านของสังคม สืบเนื่องจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม มีส่วนเพียง 3.9% ของพลังงานเชิงพาณิชย์ที่ใช้ในปัจจุบัน 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

37 ระบบพลังงานของประเทศไทย
ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในภาพรวม มีมาตรการส่งเสริมอย่างจริงจัง 2005 2011 2016 สูงสุด 2050 (% ของ 2005) พลังงานหมุนเวียน ในรูปของพลังงานเชิงพาณิชย์ (%) 3.9 8.3 10.5 40 พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน (%) 7.5 11.7 14.7 50 (ข้อมูลจากผลการวิจัยของ สกว., 2006) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

38 ระบบพลังงานของประเทศไทย ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยปี 2016
(ข้อมูลจากผลการวิจัยของ สกว., 2006) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

39 ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยปี 2016
ระบบพลังงานของประเทศไทย ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยปี 2016 (ข้อมูลจากผลการวิจัยของ สกว., 2006) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

40 ระบบพลังงานของประเทศไทย
ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในการผลิตพลังงานเพื่อการขนส่ง การใช้น้ำมันเพื่อการขนส่งในประเทศไทย น้ำมันเบนซิน 30 ล้านลิตร/วัน น้ำมันดีเซล 60 ล้านลิตร/วัน การผลิตเชื้อเพลิงเหลวจากผลิตผลการเกษตรด้วยเทคโนโลยีปัจจุบัน พื้นที่ปลูกปัจจุบัน (ล้านไร่) พื้นที่ปลูกที่ต้องเพิ่มขึ้นเพื่อผลิต ethanol 30 ล้านลิตรและ biodiesel 60 ล้านลิตรต่อวัน (ล้านไร่) มันสำปะหลัง 6.5 20 ปาล์มน้ำมัน 2.2 35 หมายเหตุ ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกทั้งสิ้นประมาณ 130 ล้านไร่ 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

41 ความต้องการกำลังคนด้านพลังงานกับสิ่งแวดล้อม
มีหลักสูตรด้านบริหารสิ่งแวดล้อมและสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อมมากพอในปัจจุบัน แต้คงต้องให้ความสำคัญเรื่องคุณภาพมากขึ้น บุคลากรด้านเทคนิค (วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม) ยังมิได้ประเมินในเชิงปริมาณและคุณภาพอย่างเป็นระบบ ด้านพลังงาน JGSEE ได้พัฒนาแผนพัฒนากำลังคนด้านพลังงาน เพื่อสนับสนุนแผนการใช้พลังงานหมุนเวียนและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ได้ตามยุทธศาสตร์ของรัฐ (RE=8% และ energy elasticity ลดจาก 1.4:1เป็น 1:1 ในปี 2011 ) 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

42 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก
แผนการพัฒนากำลังคนด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนแผนการเพิ่มการใช้พลังงานหมุนเวียนและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน แผนการพัฒนากำลังคนได้เสนอแนวทางการพัฒนาคนระดับปริญญาตรีขึ้นไปด้าน RE และ EE 4 ด้าน จำนวน 4900 คน การออกแบบ ผลิต ติดตั้งและบริการจัดการโครงการ การปฏิบัติการและซ่อมบำรุง การกำกับดูแลในระดับนโยบายและแผน และการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ การวิจัยและพัฒนา กำลังคนที่ต้องการไม่จำเป็นต้องผลิตใหม่ทั้งหมด สามารถใช้คนที่อยู่ในระบบแล้ว โดยอาศัยกระบวนการศึกษาต่อเนื่อง 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

43 สาขาวิชาที่มีความสำคัญสูงในการพัฒนากำลังคนด้านพลังงาน
1. Policy : นโยบาย 1.1 Energy planning and Energy policy 1.2 Energy economics 1.3 Energy and environment policy 1.4 Energy law and policy 1.5 Climate policy 1.6 Sustainable transport policy 1.7 International energy management and policy 1.8 Nuclear policy 1.9 Power generation planning and policy 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

44 สาขาวิชาที่มีความสำคัญสูงในการพัฒนากำลังคนด้านพลังงาน
2. Renewable Energy 2.1 Bioenergy science / engineering Plant breading Sustainable crop production (agricultural systems technology) Biomass transportation and logistics (agricultural engineering) Bioprocessing - Thermal processing - Chemical processing - Biochemical processing Agronomy Forestry and bioenergy Biomass resource management 2.2 Sustainable power generation Advanced heat and power technologies Wind engineering Power system management (with distributed generation) 2.3 Renewable energy project development and finance 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

45 สาขาวิชาที่มีความสำคัญสูงในการพัฒนากำลังคนด้านพลังงาน
3. Energy efficiency: ประสิทธิภาพพลังงาน 3.1 Low energy architecture and passive solar technologies in buildings 3.2 Building technology Optimal design and management of buildings Sustainable energy utilization in buildings Advanced cooling systems 3.3 Industry Industrial energy management Combined heat and power Thermal process design / integration / optimization Industrial process control and automation 3.4 Transportation Transportation efficiency management Alternative fuel engine technologies Hybrid vehicle technology 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก

46 สาขาวิชาที่มีความสำคัญสูงในการพัฒนากำลังคนด้านพลังงาน
4. Advanced energy technology 4.1 Carbon storage and sequestration 4.2 Nuclear technology 4.3 Clean Technologies for Power Generation 14Mar2007_ระบบพลังงานของโลก


ดาวน์โหลด ppt ระบบพลังงานโลก วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google