งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PHP อาจารย์ศรีนวล ฟองมณี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PHP อาจารย์ศรีนวล ฟองมณี."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PHP อาจารย์ศรีนวล ฟองมณี

2 PHP หรือ PHP Hypertext preprocess
ใช้ในการติดต่อกับผู้ใช้ ให้สามารถรองรับการทำงานของผู้ใช้แต่ละคนแตกต่างกัน หรือเรียกว่า Dynamic Webpages เป็นภาษาที่ใช้พัฒนา CGI หรือ Common Gateway Interface

3 หลักการทำงานของ CGI

4 หลักการทำงานของ PHP PHP Interpreter PHP Libraries บราวเซอร์
เครื่องไคลเอนต์ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ (3) เซิร์ฟเวอร์ส่งคำสั่ง PHP ไปยัง PHP Interpreter บราวเซอร์ (1) ไคลเอนต์เรียกคำสั่ง PHP ผ่านบราวเซอร์ (7) บราวเซอร์แสดงผล ให้ผู้ใช้ที่ฝั่งไคลเอนต์ (2) บราวเซอร์ส่งคำสั่งต่อไปเซิร์ฟเวอร์ (6) เซิร์ฟเวอร์ส่งผลต่อไปบราวเซอร์ (5) PHP ส่งผลลัพธ์เป็น HTML ไปเซิร์ฟเวอร์ (4) เรียกใช้ฟังก์ชั่นที่ต้องการ (4) ติดต่อฐานข้อมูลอื่น ๆ ด้วยฟังก์ชั่นเฉพาะ (4) ติดต่อฐานข้อมูล MySQL ด้วยฟังก์ชั่น MySQL SQL Server Access FoxPro MySQL Other Database PHP Libraries PHP Interpreter ODBC (4) ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC ด้วยฟังก์ชั่น ODBC หลักการทำงานของ PHP

5 ลักษณะทั่วไปของภาษา PHP
ภาษา PHP เป็นภาษาสคริปต์ที่ทำงานบนฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (Server-side Script) และส่งข้อมูลภาษา HTML ไปแสดงผลที่เครื่องฝั่งไคลเอนต์ รากฐานของภาษา PHP มากจากภาษา C, ภาษา Java และภาษา Perl ภาษา PHP เริ่มพัฒนามาจากเวอร์ชั่นที่ 1.0 จนถึงปัจจุบันเวอร์ชั่น 7.0

6 ข้อดีของภาษา PHP เป็น Open Source ไม่เสียค่าใช้จ่าย
สามารถทำงานบนระบบปฏิบัติการได้หลายระบบ เช่น Window, Unix, Linux สามารถแทรกคำสั่งภาษา PHP กับร่วมกับ Tag HTML ส่วนใดก็ได้ สามารถใช้งานร่วมกับภาษา XML ได้ดี สามารถใช้งานร่วมกับฐานข้อมูลได้หลายชนิด มีฟังก์ชั่นที่ใช้ดำเนินการกับการประมวลผลแฟ้มข้อมูลจำนวนมาก

7 รูปแบบคำสั่งภาษา PHP (1) แบบที่ 1 XML Style <?php คำสั่งภาษา PHP;
?> (3) แบบที่ 3 Java Script Style <script language="php"> </script> (2) แบบที่ 2 SGML Style <? (4) แบบที่ 4 ASP Style <% %>

8 การแยกคำสั่งในภาษา PHP
การแยกคำสั่งแต่ละคำสั่งออกจากกัน จะใช้เครื่องหมาย ; หรือว่า semi colon <? echo ("การพัฒนาเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML"); echo ("การพัฒนาเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP"); ?> หรือ <? echo ("การพัฒนาเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML");echo ("การพัฒนาเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP");?>

9 การแทรกคำอธิบายในภาษา PHP
(1) การแทรกคำอธิบายแบบหนึ่งบรรทัด ใช้สัญลักษณ์ // เพื่อกำหนดให้ข้อความในบรรทัดนั้นเป็นคำอธิบาย มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ // คำอธิบายในภาษา PHP แบบหนึ่งบรรทัด ตัวอย่าง <? // แสดงข้อความ This is PHP echo "This is PHP "; ?>

10 การแทรกคำอธิบายในภาษา PHP
(2) การแทรกคำอธิบายแบบหลายบรรทัด โดยใช้สัญลักษณ์ /* เพื่อกำหนดจุดเริ่มต้นคำอธิบาย และสัญลักษณ์ */ เพื่อกำหนดจุดสิ้นสุดคำอธิบาย มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ /* คำอธิบายในภาษา PHP แบบหลายบรรทัด */ ตัวอย่าง <? /* บรรทัดแรกของการเขียน comment คำสั่งแสดงข้อความ Welcome to my website */ echo "Welcome to my website"; ?>

11 ชนิดข้อมูลและตัวแปรในภาษา PHP

12 ชนิดข้อมูล ชนิดของข้อมูลในภาษา PHP จะประกอบด้วย 3 ชนิดคือ
(1) ข้อมูลแบบค่าเดียว (Scalar) ประกอบด้วย - Boolean เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง หรือเป็นเท็จ (True/False) - Integer เป็นข้อมูลประเภทที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และ สามารถกำหนดได้ว่าจะเป็นเลขฐานสิบ เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก - Floating Point เป็นข้อมูลชนิดตัวเลขที่เป็นทศนิยม เช่น 1.01 ,1.2e-10 - String เป็นข้อมูลชนิดข้อความ (2) ข้อมูลแบบหลายค่า (Compound) ประกอบด้วย - Array เก็บข้อมูลเป็นชุด - Object เก็บข้อมูลเป็นวัตถุ - Type juggling เก็บข้อมูลในลักษณะเฉพาะหรือผู้ใช้เพิ่มเติมเข้ามา (3) ข้อมูลแบบพิเศษ (Special) ประกอบด้วย - Resource เป็นข้อมูลที่ได้มาจากฟังก์ชั่นของภาษา PHP - Null เป็นข้อมูลที่ไม่มีค่า

13 ตัวแปร หลักการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา PHP มีหลักการในการตั้งชื่อตัวแปรดังนี้ (1) ต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ แล้วตามด้วยตัวอักษร A-Z, a-z (2) ต้องมีความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักษร (3) ห้ามใช้จุดทศนิยม หรือช่องว่าง (4) ต้องไม่ตรงกับคำสงวน (5) ควรตั้งชื่อให้มีความหมายใกล้เคียงกับ ค่าที่เก็บ (6) ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่แตกต่างกัน (7) ถ้าตั้งตัวแปรขึ้นมาใหม่ แล้วซ้ำกับตัวแปรเก่า ค่าของตัวแปรเก่าจะหายไป

14 คำสงวนในภาษา PHP

15 $ชื่อตัวแปร=ค่าของตัวแปร; $name="นางสาวแสงใจ นามเพราะ";
การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูลในตัวแปรของโปรแกรมภาษา PHP ถูกกำหนดตามข้อมูลที่จัดเก็บในตัวแปร ณ เวลานั้นๆ (Run Time) ในการประกาศค่าตัวแปรในภาษา PHP มีรูปแบบคือ $ชื่อตัวแปร=ค่าของตัวแปร; ตัวอย่างประกาศตัวแปร name ให้เป็นข้อความ “นางสาวแสงใจ นามเพราะ” ดังนี้ $name="นางสาวแสงใจ นามเพราะ";

16 การแสดงค่าข้อมูลในตัวแปร
ประกอบด้วยคำสั่ง echo print printf

17 คำสั่ง echo ใช้สำหรับแสดงข้อความหรือแสดงค่าข้อมูลที่เก็บในตัวแปร การแสดงผลข้อความจะอยู่ภายใต้เครื่องหมาย Double quote (" ") หรือ Single quate (' ') การแสดงผลค่าข้อมูลที่เก็บในตัวแปรจะระบุชื่อตัวแปร การแสดงผลมากกว่าหนึ่งข้อความหรือตัวแปร สามารถใช้เครื่องหมาย , หรือ . คั่น มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ echo ข้อความหรือตัวแปร,ข้อความหรือตัวแปร; ตัวอย่างการแสดงค่าข้อมูลในตัวแปร name โดยแสดงเป็นหัวเรื่องขนาดใหญ่ลำดับที่ 1 ด้วยคำสั่ง echo ดังนี้ echo "<H1>",$name, "</H1>";

18 คำสั่ง print ใช้สำหรับแสดงข้อความหรือแสดงค่าข้อมูลที่เก็บในตัวแปร เช่นเดียวกับคำสั่ง echo แต่ต่างกันตรงที่คำสั่ง print เครื่องหมาย . คั่นแต่ละข้อความหรือตัวแปร มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ print ข้อความหรือตัวแปร.ข้อความหรือตัวแปร; ตัวอย่างการแสดงค่าข้อมูลในตัวแปร name โดยแสดงเป็นหัวเรื่องขนาดใหญ่ลำดับที่ 1 ด้วยคำสั่ง print ดังนี้ $name="นางสาวแสงใจ นามเพราะ"; print "<H1>".$name. "</H1>";

19 คำสั่ง printf ใช้สำหรับแสดงข้อความหรือแสดงค่าข้อมูลในตัวแปรที่สามารถกำหนดรูปแบบการแสดงผลได้ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ printf (รูปแบบการแสดงผล,ข้อความหรือตัวแปร); โดยที่รูปแบบการแสดงผล ประกอบด้วย - %% คือรูปแบบ % - %d คือเลขจำนวนเต็ม - %f คือ เลขทศนิยม - %s คือ ข้อความ - %c คือ ตัวอักษรที่ตามค่ารหัสตัวอักษรที่กำหนด ตัวอย่างการแสดงค่าข้อมูลในตัวแปร name โดยแสดงเป็นหัวเรื่องขนาดใหญ่ลำดับที่ 1 ด้วยคำสั่ง printf ดังนี้ $name="นางสาวแสงใจ นามเพราะ"; printf ("<H1>%s</H1>",$name);

20 ขอบเขตของตัวแปร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Global Scope Local Scope

21 Global Scope คือการเรียกใช้ตัวแปรจากส่วนใดก็ได้ของโปรแกรม โดยที่ค่าตัวแปรยังอยู่จนกว่าโปรแกรมนั้นจะจบหรือหยุดทำงาน การเรียกใช้งานสามารถกระทำได้ 2 แบบ คือ ใช้คำสั่ง global ผ่านตัวแปรอะเรย์ชื่อ $GLOBAL

22 ตัวแปร Global Scope ใช้คำสั่ง global
<? function add(){ global $var1 ; $var1++; } $var1 = 10 ; echo ("var1==>$var1<BR>"); add(); echo ("var1==>$var1"); ?>

23 ตัวแปร Global Scope โดยผ่านตัวแปรอะเรย์ชื่อ $GLOBAL
<? function add(){ $GLOBALS[var1]++; } $var1 = 10 ; echo ("var1==>$var1<BR>"); add(); echo ("var1==>$var1"); ?>

24 Local Scope คือการกำหนดตัวแปรขึ้นมาใช้ภายในฟังก์ชั่น
เมื่อออกจากฟังก์ชั่นตัวแปรนั้นจะหายไป ตัวแปรที่กำหนดในฟังก์ชั่นใดฟังก์ชั่นหนึ่งจะไม่สามารถเรียกใช้อีกจากฟังก์ชั่นหนึ่งได้

25 ตัวอย่างการใช้งานตัวแปร Local Scope
<? function add(){ $var1++; echo ("var1 in function add()==>$var1<BR>"); } $var1 = 10 ; echo ("var1==>$var1<BR>"); add(); echo ("var1==>$var1"); ?>

26 ประเภทของตัวแปร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ตัวแปรที่ผู้ใช้สร้างขึ้น
ตัวแปรเก็บค่าต่างๆ ของระบบ

27 ตัวแปรที่ผู้ใช้สร้างขึ้น
ตัวแปรชนิด Integer ตัวแปรชนิด Float ตัวแปรชนิด String ตัวแปรชนิด Dynamic variable name ตัวแปรชนิดค่าคงที่ (Constant)

28 ตัวแปรชนิด Integer <? $i=100; $j=25; $c=$i+$j; $d=$i-$j; $e=$i*$j;
เก็บข้อมูลที่เป็นจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ เลขฐานสิบ ฐานแปด และฐานสิบหก <? $i=100; $j=25; $c=$i+$j; $d=$i-$j; $e=$i*$j; $f=$i/$j; echo "i+j =","$c<br>"; echo "i-j =","$d<br>"; echo "i*j =","$e<br>"; echo "i/j =","$f"; ?>

29 ตัวแปรชนิด Float $i=2.217; $j=3.617; $a=$i+$j; $b=$i-$j; $c=$i*$j;
เก็บข้อมูลที่เป็นจำนวนจริงทั้งบวกและลบ ทั้งมีทศนิยม และไม่มีทศนิยม <? $i=2.217; $j=3.617; $a=$i+$j; $b=$i-$j; $c=$i*$j; $d=$i/$j; echo "i+j =","$a<br>"; echo "i-j =","$b<br>"; echo "i*j =","$c<br>"; echo "i/j =","$d"; printf("i+j =%.2f<br>",$a); printf("i-j =%.2f<br>",$b); printf("i*j =%.2f<br>",$c); printf("i/j =%.2f",$d); ?>

30 ตัวแปรชนิด Dynamic variable name
การสร้างตัวแปรในขณะที่กำลังรันโปรแกรม โดยใช้สัญลักษณ์ $ วางข้างหน้าเพื่ออ้างอิงค่าข้อมูลถึงตัวแปรนั้นสร้างเป็นตัวแปร เช่น กรณีต้องการอ้างอิงถึงค่าตัวแปร test มาสร้างเป็นตัวแปรแบบ Dynamic variable name ก็จะใช้เป็น $$test ถ้าหากในตัวแปร test มีค่าเป็น "code" ก็จะเกิดตัวแปร code ขึ้นมา ข้อดีของการใช้ตัวแปรชนิดนี้คือจะมีการขอพื้นที่หน่วยความจำก็ต่อเมื่อต้องการใช้งานตัวแปรเท่านั้น ทำให้ประหยัดพื้นที่หน่วยความจำโดยไม่ต้องมีจองพื้นที่ไว้ล่วงหน้า

31 ตัวอย่างการประกาศและใช้งานตัวแปร Dynamic variable name
<? $a= "test"; $$a="variable"; echo ("$a ${$a}"."<BR>"); echo ("$a $test"); ?>

32 ตัวแปรชนิดค่าคงที่ (Constant)
คือตัวแปรที่เก็บค่าคงที่ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทุกครั้งที่เรียกใช้งานตัวแปรค่าก็ยังคงเดิม มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ Define (ชื่อตัวแปรค่าคงที่, ค่าข้อมูล)

33 ตัวอย่างการประกาศและใช้งานตัวแปรชนิดค่าคงที่
<? DEFINE("name","มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย"); DEFINE("Dep","วิทยาการคอมพิวเตอร์"); echo ("<H1>Your name : ".name."</H1>"); echo ("<H2>Your Dep : " .Dep."</H2>"); ?>

34 ตัวแปรเก็บค่าต่างๆ ของระบบ
ชื่อตัวแปร ความหมาย DOCUMENT_ROOT แสดงที่อยู่ของ Folder ที่รวบรวมเว็บไซต์ทั้งหมด GATEWAY_INTERFACE แสดงค่าอินเทอร์เฟชของ CGI HTTP_ACCEPT_LANGUAGE ภาษาที่ใช้ HTTP_CONNECTION สถานภาพการเชื่อมต่อ HTTP_USER_AGENT แสดงชื่อบราวเซอร์ที่เรียกใช้ PATH_INFO แสดงที่อยู่ของเว็บเพจแบบเต็ม PATH_TRANSLATED แสดง Path ของเอกสาร QUERY_STRING แสดงข้อความที่ส่งมาใน address bar REMOTE_ADDR แสดงค่า IP ของเครื่องที่เข้ามา REMOTE_PORT แสดง Port เครื่องที่เข้ามา REQUEST_METHOD แสดงค่ารับส่งว่าเป็น Get หรือ Post SCRIPT_NAME แสดงชื่อไฟล์เอกสารเว็บเพจ SERVER_NAME แสดงชื่อ Server SERVER_PORT แสดง Port ของ Server SERVER_PROTOCOL แสดงโปรโตคอลของ Server SERVER_SOFTWARE แสดงชื่อโปรแกรมที่ใช้ใน Server ประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษา PHP_OS แสดงชื่อระบบปฏิบัติการของภาษา PHP PHP_VERSION แสดงเวอร์ชั่นของตัวแปลภาษา PHP

35 ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรเก็บค่าต่างๆ ของระบบ
<? echo "Document : " .$DOCUMENT_ROOT."<br> "; echo "Interface : " .$GATEWAY_INTERFACE."<br> "; echo "Language : " .$HTTP_ACCEPT_LANGUAGE."<br> "; echo "Connection : " .$HTTP_CONNECTION."<br> "; echo "Browser : " .$HTTP_USER_AGENT."<br> "; echo "Path Info : " .$PATH_INFO."<br> "; echo "Path Translated : " .$PATH_TRANSLATED."<br> "; echo "Query String : " .$QUERY_STRING."<br> "; echo "IP Address Client : " .$REMOTE_ADDR."<br> "; echo "Port Client : " .$REMOTE_PORT."<br> "; echo "Request Method : " .$REQUEST_METHOD."<br> "; echo "Script Name : " .$SCRIPT_NAME."<br> "; echo "Server Name : " .$SERVER_NAME."<br> "; echo "Server Port : " .$SERVER_PORT."<br> "; echo "Server Protocol : " .$SERVER_PROTOCOL."<br> "; echo "Server Software : " .$SERVER_SOFTWARE."<br> "; echo "PHP OS : " .(PHP_OS)."<br> "; echo "PHP Version : " .(PHP_VERSION)."<br>"; ?>

36 ตัวดำเนินการในภาษา PHP
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) ตัวดำเนินการข้อความ (String Operators) ตัวดำเนินการกำหนดค่า (Assignment Operators) ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical Operators) ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison Operators) ตัวดำเนินการทางด้านเพิ่มค่าและลดค่า (Operator Precedence)

37 ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ความหมาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + บวก $a + $b ผลบวกของ $a และ $b - ลบ $a - $b ผลลบของ $a และ $b * คูณ $a * $b ผลคูณของ $a และ $b / หาร $a / $b ผลหารของ $a และ $b % หารเอาเศษ $a % $b เศษจากการหารของ $a ด้วย $b

38 ตัวดำเนินการข้อความ มีตัวดำเนินการเดียวคือรวมข้อความ ซึ่งจะใช้ . <?
$a = "PHP"; $b = "Programming"; $c = $a.$b; echo"$c"; ?>

39 ตัวดำเนินการกำหนดค่า
ความหมาย ตัวอย่าง คำอธิบาย = กำหนดค่า $a=2; += เพิ่มค่า $a +=2; $a=$a+2; -= ลบค่า $a -=2; $a=$a-2; *= คูณค่า $a *=2; $a=$a*2; /= หารค่า $a /=2; $a=$a/2; .= รวมข้อความ $a.="World"; $a=$a."World";

40 ตัวดำเนินการทางตรรกะ
ความหมาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ and และ $a and $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a และ $b เป็นจริง or หรือ $a or $b เป็นจริงถ้า $a หรือ $b เป็นจริง xor $a xor $b เป็นเท็จถ้า $a และ $b เป็นจริง หรือ $a และ $b เป็นเท็จ ! ตรงกันข้าม ! $a เป็นจริง ก็ต่อเมื่อ $a เป็นเท็จ && $a && $b เป็นจริงเมื่อ $a และ $b เป็นจริง || $a || $b เป็นจริงเมื่อ $a หรือ $b เป็นจริง

41 ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ
ความหมาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ == เท่ากับ $a == $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a มีค่าเท่ากับ $b === เหมือนกัน $a===$b เป็นจริงก็ต่อเมื่อชนิดและค่าข้อมูล $a เหมือนกับ $b !=,<> ไม่เท่ากับ $a != $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a มีค่าไม่เท่ากับ $b !== ไม่เหมือนกัน $a !== $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อชนิดและค่าข้อมูล $a ไม่เหมือนกับ $b น้อยกว่า $a < $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a มีค่าน้อยกว่า$b มากกว่า $a > $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a มีค่ามากกว่า $b <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ $a <= $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ $b >= มากกว่าหรือเท่ากับ $a >= $b เป็นจริงก็ต่อเมื่อ $a มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ $b

42 ตัวดำเนินการทางด้านเพิ่มค่าและลดค่า
ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ++$(ตัวแปร) ++$a เพิ่มตัวแปร a ขึ้น 1 ค่า แล้วจึงให้ค่ากับตัวแปร a $(ตัวแปร)++ $a++ ให้ค่ากับตัวแปร a แล้วจึงเพิ่มค่าตัวแปร a ขึ้น 1 - -$(ตัวแปร) --$a ลดค่าตัวแปร a ลง 1 แล้วจึงให้ค่ากับตัวแปร a $(ตัวแปร)- - $a-- ให้ค่ากับตัวแปร a แล้วจึงลดค่าตัวแปร a ลง 1

43 ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการของภาษา PHP
1 ( ) 2 ++, -- 3 *, /, % 4 +, - 5 <, <=, >, >=, <> 6 ==, ===, != ,!== 7 && 8 || 9 =, +=, -=, *=, /=, %=

44 คำสั่งควบคุมการทำงาน

45 การตรวจสอบเงื่อนไขด้วยคำสั่ง if
รูปแบบที่ 1 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณีมีทางเลือกเดียว รูปแบบที่ 2 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณี 2 ทางเลือก รูปแบบที่ 3 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณีมากกว่า 2 ทางเลือก

46 รูปแบบที่ 1 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณีมีทางเลือกเดียว
if (เงื่อนไข) { กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง } <? $price =100; if ($price==100) { echo "This is True"; } ?>

47 รูปแบบที่ 2 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณี 2 ทางเลือก
if (เงื่อนไข) { กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง } else กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นเท็จ

48 รูปแบบที่ 2 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณี 2 ทางเลือก
<form name="form1"> <input type="text" name="var1" value="<? echo $var1;?>"> <input type="submit" value="OK"> </form> <? if ($var1==100){ echo "Equal 100"; } else{ echo "not Equal 100"; } ?>

49 รูปแบบที่ 3 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณีมากกว่า 2 ทางเลือก
if (เงื่อนไขที่ 1) { กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 เป็นจริง } elseif (เงื่อนไขที่ 2) กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 2 เป็นจริง else กิจกรรมหรือคำสั่ง เมื่อเงื่อนไขทั้ง 2 ข้างบนไม่เป็นจริง

50 รูปแบบที่ 3 ตรวจสอบเงื่อนไขกรณีมากกว่า 2 ทางเลือก
<form name="form1"> <input type="text" name="var1" value="<? echo $var1;?>"> <input type="submit" value="OK"> </form> <? if ($var1==100) { echo "Equal 100"; } elseif($var1>100){ echo "Greater than 100"; }else{ echo "Less than 100"; } ?>

51 การตรวจสอบทางเลือกด้วยคำสั่ง switch case
switch (ตัวแปรที่ตรวจสอบ) { case (ค่าที่1 ): กิจกรรมหรือคำสั่งที่จะทำเมื่อตัวแปรที่ตรวจสอบตรงกับค่าที่ 1; break; case (ค่าที่ 2 ): กิจกรรมหรือคำสั่งที่จะทำเมื่อตัวแปรที่ตรวจสอบตรงกับค่าที่ 2; default: กิจกรรมหรือคำสั่งที่จะทำเมื่อตัวแปรที่ตรวจสอบไม่ตรงกับค่าใด ๆ เลย; }

52 ตัวอย่างการใช้งานการตรวจสอบทางเลือกด้วยคำสั่ง switch case
<form name="form1"> <input type="text" name="var1" value="<? echo $var1;?>"> <input type="submit" value="OK"> </form> <? switch ($var1){ case 1 : echo "วันจันทร์"; break; case 2 : echo "วันอังคาร"; break; case 3 : echo "วันพุธ"; break; case 4 : echo "วันพฤหัสบดี";break; case 5 : echo "วันศุกร์"; break; case 6 : echo "วันเสาร์";break; case 7 : echo "วันอาทิตย์"; break; default : echo " วันไม่ถูกต้อง"; } ?>

53 การวนซ้ำหรือทำซ้ำ คำสั่ง for คำสั่ง while คำสั่ง do..while

54 คำสั่ง for ใช้ในการประมวลผลวนซ้ำที่มีจำนวนรอบที่แน่นอน โดยจะกำหนดจุดเริ่มต้นที่ใช้วนซ้ำและจุดที่หยุดวนซ้ำในตอนเริ่มต้น จากนั้นดำเนินการตามค่าที่กำหนดให้เพิ่มหรือลดในการนับจำนวนรอบ จะทำงานจนเงื่อนไขเป็นเท็จ ถึงจะหยุดการวนซ้ำ รูปแบบการใช้งาน for ( กำหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวนับ;เงื่อนไขที่จะทำซ้ำ;การเพิ่มค่าหรือลดค่าตัวนับ) { กิจกรรมหรือคำสั่ง }

55 ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง for
<? for ($i=1;$i<=5;$i++){ echo"<p><font size='$i'> Welcome to mywebsite!!</font></p>"; } ?>

56 คำสั่ง While เป็นคำสั่งที่ใช้ประมวลผลการวนซ้ำแบบมีจำนวนวนรอบที่ไม่แน่นอน ซึ่งอาจจะมีการวนซ้ำหรือไม่มีก็ได้ เนื่องจากก่อนการวนซ้ำจะมีการตรวจสอบเงื่อนไข หากเงื่อนไขเป็นจริงจึงจะวนซ้ำและหากเงื่อนไขเป็นเท็จจะไม่เข้าทำงานในลูป การวนซ้ำจะหยุดก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ รูปแบบการใช้งาน while( เงื่อนไขที่จะทำซ้ำ ) { กิจกรรมหรือคำสั่งที่จะทำซ้ำ }

57 ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง While
<? $i=1; while ($i<=5){ echo"<p><font size='$i'> Welcome to mywebsite!!</font></p>"; $i++; } ?>

58 คำสั่ง do..while เป็นคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลแบบการวนซ้ำ โดยจะทำงานคำสั่งในลูปอย่างน้อยหนึ่งรอบแล้วจึงทำการตรวจสอบเงื่อนไข หากเงื่อนไขเป็นจริงจึงกลับไปวนซ้ำ และหากเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะหยุดการวนซ้ำ รูปแบบการใช้งาน do{ กิจกรรมหรือคำสั่งที่จะทำซ้ำ } while (เงื่อนไขที่จะทำซ้ำ);

59 ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง Do..While
<? $i=1; do{ echo"<p><font size='$i'> Welcome to mywebsite!!</font></p>"; $i++; }while ($i<=5); ?>

60 คำสั่งประเภทกระโดดข้าม
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับหยุดการทำงาน หรือออกจากการทำงานทันที เช่น คำสั่ง break, continue และ exit

61 คำสั่ง break เป็นคำสั่งให้ออกจากการทำงานของคำสั่ง switch…case, for, while, do..while

62 ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง break
<form name="form1"> <input type="text" name="var1" value="<? echo $var1;?>"> <input type="submit" value="OK"> </form> <TABLE border="2"> <? for($i=1;$i<=$var1;$i++){ echo "<TR>"; for($j=1;$j<=12;$j++){ $y=$i*$j; if($y>50){ break; } echo "<TD>$i * $j =$y </TD>"; echo "</TR>"; ?></TABLE>

63 คำสั่ง continue เป็นคำสั่งที่ใช้กระโดดไปยังรอบถัดไปทันที โดยไม่สนใจคำสั่งที่เหลือในการวนรอบนั้น <? for ($i=1;$i<=5;$i++) { if($i==3){continue;} echo"<p><font size='$i'> Welcome to mywebsite!!</font></p>"; }?>

64 คำสั่ง exit เป็นคำสั่งให้จบโปรแกรม โดยไม่สนใจคำสั่งที่เหลืออยู่
<? for ($i=1;$i<=5;$i++){ If($i==3){ exit; } echo"<p><font size='$i'> Welcome to mywebsite!!</font></p>"; } ?>

65 ตัวแปรชนิดอะเรย์ ตัวแปรชนิดอะเรย์ หรือ Array หมายถึงตัวแปรชุดที่สามารถเก็บค่าได้หลายๆ ค่า โดยใช้ตัวแปรตัวเดียว สิ่งที่อยู่ภายในอะเรย์เรียกว่าสมาชิก แต่ละสมาชิกในอะเรย์จะมีอินเด็กซ์ (Index) หรือหมายเลขเพื่อใช้อ้างอิง อินเด็กซ์จะเริ่มที่ 0 และสามารถกำหนดอินเด็กซ์ให้เป็นตัวอักษรซึ่งเรียกว่าคีย์ ตัวแปรชนิดอะเรย์ในภาษา PHP มีขนาดที่เปลี่ยนแปลงได้

66 การสร้างตัวแปรชนิดอะเรย์
แบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการใช้ฟังก์ชั่น array การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการกำหนดอินเด็กซ์ให้กับตัวแปรอะเรย์ การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการกำหนดคีย์แทนอินเด็กซ์

67 การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการใช้ฟังก์ชั่น array
มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ $ตัวแปรอะเรย์=array(ค่าข้อมูล1,ค่าข้อมูล2,ค่าข้อมูล…); ตัวอย่างการสร้างตัวแปรชนิดอะเรย์โดยการใช้ฟังก์ชั่น array เช่น $arr =array(8,5,6,4,3,2,100,30,40 ); $day=array("อาทิตย์","จันทร์","อังคาร","พุธ","พฤหัสบดี","ศุกร์","เสาร์");

68 การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการกำหนดอินเด็กซ์ให้กับตัวแปรอะเรย์
เป็นการกำหนดอินเด็กซ์ในอะเรย์ให้กับตัวแปรโดยตรง รูปแบบการใช้งาน $ตัวแปรอะเรย์[อินเด็กซ์]=ค่าข้อมูล; ตัวอย่างการสร้างตัวแปรชนิดอะเรย์โดยการกำหนดอินเด็กซ์ให้กับตัวแปรอะเรย์ เช่น $arr[1] = 8; $arr[10] = "blue"; ในภาษา PHP ตัวแปรอะเรย์มีขนาดเปลี่ยนแปลงได้เรียกว่า Dynamic array หรือ vector สำหรับอะเรย์มิติเดียว สามารถระบุเป็นเลขอินเด็กซ์หรือใช้สัญลักษณ์ [] เพื่อขยายจำนวนข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในตัวแปรอะเรย์ และข้อมูลแต่ละตัวในตัวแปรอะเรย์ไม่จำเป็นต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน เช่นอาจมีทั้งจำนวนเต็ม เลขทศนิยมตัวอย่างการใช้งานเช่น $myarray[]=100; $myarray[]=10.25; $myarray[]="Apple";

69 การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการกำหนดคีย์ (Key) แทนอินเด็กซ์
คีย์ที่กำหนดขึ้นมาสามารถเป็นได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษร การอ้างถึงคีย์สามารถระบุเป็นตัวข้อความโดยตรง อาจจะอยูภายใต้เครื่องหมาย "" หรือ ' ' ก็ได้ รูปแบบการใช้งานดังนี้ $ตัวแปรอะเรย์[คีย์]=ค่าข้อมูล ตัวอย่างการสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการกำหนดคีย์ เช่น $animal[a]= "Ant"; $color["blue"]= "#0000FF"; $goods["P001"]=14500; จากตัวอย่าง $animal[a] มีค่าเท่ากับ $animal["a"] หรือ $animal['a']

70 การสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยการกำหนดคีย์ (Key) แทนอินเด็กซ์
นอกจากนี้ยังสามารถกำหนดคีย์ด้วยการใช้ฟังก์ชั่น array มีรูปแบบดังนี้ $ตัวแปรอะเรย์=array(คีย์=>ค่าข้อมูล, คีย์=>ค่าข้อมูล,…); ตัวอย่างการสร้างตัวแปรอะเรย์ด้วยใช้ฟังก์ชั่น array กำหนดคีย์ เช่น $animal=array(a=>"Ant",b=>"Bird"); หรือ $animal=array("a"=>"Ant","b"=>"Bird"); การสร้างตัวแปร $anmial 2 รูปแบบข้างต้นจะได้ตัวแปรอะเรย์ตัวเดียวกัน

71 การเข้าถึงข้อมูลในตัวแปรชนิดอะเรย์
สามารถกระทำได้ 4 วิธี คือ การใช้ค่าอินเด็กซ์ การใช้คำสั่งวนซ้ำ การใช้คำสั่ง foreach การใช้คำสั่ง each

72 การเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยการใช้ค่าอินเด็กซ์
รูปแบบการใช้งานดังนี้ $ตัวแปรอะเรย์[ค่าอินเด็กซ์]; ตัวอย่างการเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยการใช้ค่าอินเด็กซ์ <? $arr = array(8,5,6,4,3,2,100,30,40 ); echo $arr[0]." ".$arr[1]." ".$arr[2]." ".$arr[3]." ".$arr[4]." ".$arr[5]." ".$arr[6]." ".$arr[7]." ".$arr[8]; $animal=array(A=>"ANT",B=>"BIRD",C=>"CAT",D=>"DOG"); echo "<BR>"; echo $animal[A]." ".$animal[B]." ".$animal[C]." ".$animal[D]; ?>

73 การเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยใช้คำสั่งวนซ้ำ
ได้แก่ คำสั่ง for คำสั่ง while คำสั่ง do..while โดยใช้ฟังก์ชั่น count นับจำนวนข้อมูลในอะเรย์ และนำจำนวนข้อมูลในอะเรย์เป็นตัวกำหนดการวนซ้ำ รูปแบบการใช้งานฟังก์ชั่น count คือ count(ตัวแปรอะเรย์);

74 การเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยใช้คำสั่งวนซ้ำ
กรณีตัวแปรอะเรย์ที่สร้างด้วยการกำหนดคีย์แทนอินเด็กซ์ จะไม่สามารถระบุอินเด็กซ์โดยใช้ตัวเลขได้จะต้องระบุเป็นคีย์เท่านั้น โดยใช้ฟังก์ชั่น key อ่านค่าคีย์ของตัวแปรอะเรย์ ฟังก์ชั่น current อ่านค่าข้อมูล ณ ตำแหน่งปัจจุบันที่ตัวชี้อะเรย์ (Pointer) ชี้อยู่ ฟังก์ชั่น next เพื่อสั่งให้ตัวชี้อะเรย์เลื่อนไปยังตำแหน่งถัดไป รูปแบบการใช้งานฟังก์ชั่น ดังนี้ current(ตัวแปรอะเรย์); key(ตัวแปรอะเรย์); next(ตัวแปรอะเรย์);

75 ตัวอย่างการเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยใช้คำสั่งวนซ้ำ
<? $arr = array(8,5,6,4,3,2,100,30,40); $countarr=count($arr); for($i=0;$i<$countarr;$i++){ echo $arr[$i]." ";} echo "<BR>"; $animal=array(A=>"ANT",B=>"BIRD",C=>"CAT",D=>"DOG"); $countanimal=count($animal); for($k=0;$k<$countanimal;$k++){ echo key($animal)."==>".current($animal)."<BR>"; next($animal); } ?>

76 การเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วย การใช้คำสั่ง foreach
รูปแบบการใช้งานดังนี้ foreach($ตัวแปรอะเรย์ as $ตัวแปรที่อ่านค่าข้อมูล) { คำสั่งหรือกิจกรรมในการดำเนินการเกี่ยวกับตัวแปรที่อ่านค่าข้อมูล; } หรือ foreach($ชื่อตัวแปรอะเรย์ as $ชื่อตัวแปรคีย์=>$ชื่อตัวแปรที่อ่านค่าข้อมูล)

77 ตัวอย่างการเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยการใช้คำสั่ง foreach
<? $arr = array(8,5,6,4,3,2,100,30,40); foreach ($arr as $readarr){ echo $readarr." "; } echo "<BR>"; $animal=array(A=>"ANT",B=>"BIRD",C=>"CAT",D=>"DOG"); foreach ($animal as $key=>$val){ echo $key."==>".$val."<BR>"; ?>

78 การเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยการใช้คำสั่ง each
โดยค่าที่ได้จากการอ่านข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในอะเรย์ เมื่ออ่านข้อมูลแล้วตัวชี้อะเรย์จะเลื่อนไปยังข้อมูลถัดไปของอะเรย์อัตโนมัติ รูปแบบการใช้งานดังนี้ each($ตัวแปรอะเรย์)

79 ตัวอย่างการเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยการใช้คำสั่ง each
<? $arr = array(8,5,6,4,3,2,100,30,40); while($data1=each($arr)){ echo $data1[0]."==>".$data1[1]." , ";} echo "<BR>"; $animal=array(A=>"ANT",B=>"BIRD",C=>"CAT",D=>"DOG"); while($data2=each($animal)){ echo $data2[0]."==>".$data2[1]."<BR>";} ?>

80 ตัวอย่างการเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ด้วยการใช้คำสั่ง each
สามารถใช้ฟังก์ชั่น list สร้างตัวแปรรับค่าดังกล่าวได้ โดยจำนวนของตัวแปรจะระบุตามขนาดอะเรย์ที่รับมา มีรูปแบบการใช้งานฟังก์ชั่น list ดังนี้ list(ตัวแปร1,ตัวแปร2,…);

81 ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชั่น list
<? $arr = array(8,5,6,4,3,2,100,30,40); while(list($index,$data)=each($arr)){ echo $index."=".$data." , "; } echo "<BR>"; $animal=array(A=>"ANT",B=>"BIRD",C=>"CAT",D=>"DOG"); while(list($k,$v)=each($animal)){ echo $k."==>".$v."<BR>"; ?>

82 การประยุกต์ใช้ตัวแปรอะเรย์

83 สร้างกล่องตัวเลือกเพื่อเลือกเพศ
กำหนดให้เลือกเพศ หากเป็นเพศชาย คือ 0 เพศหญิง คือ 1 เมื่อแสดงผลบนบราวเซอร์จะได้ดังรูป <? $arrsex=array("ชาย","หญิง"); echo "เลือกเพศ"; for($i=0;$i<count($arrsex);$i++){ echo "<input type='radio' name='sex' value='$i'>$arrsex[$i]"; } ?>

84 สร้างกล่องตัวเลือกเพื่อแสดงรูปแบบวันแบบไทย
โดยเลือกวันในรูปแบบภาษาอังกฤษจากนั้นให้แสดงวันในรูปแบบไทย เมื่อแสดงผลบนบราวเซอร์จะได้ดังรูป

85 สร้างกล่องตัวเลือกเพื่อแสดงรูปแบบวันแบบไทย
<HTML><HEAD><TITLE>วันในรูปแบบไทย</TITLE> <META HTTP-EQUIV="CONTENT-TYPE" CONTENT="TEXT/HTML; CHARSET=UTF-8"><HEAD> <BODY> <H2 align="center">การใช้งานตัวแปรอะเรย์</H2> <form name="form1"> <table border="3" align="center"><Tr> <Td valign="top" width="100" align="right">เลือกวัน</td> <Td valign="top" width="200"> <? $thday["sunday"]="อาทิตย์"; $thday["monday"]="จันทร์"; $thday["tueday"]="อังคาร"; $thday["wednesday"]="พุธ"; $thday["thursday"]="พฤหัสบดี"; $thday["friday"]="ศุกร์"; $thday["saturday"]="เสาร์"; while(list($k,$v)=each($thday)) { if($day==$k){ echo "<input type='radio' name='day' value='$k' checked>$k<BR>"; }else{ echo "<input type='radio' name='day' value='$k'>$k<BR>";} } ?> <INPUT TYPE="SUBMIT" VALUE="วันในรูปแบบไทย"></TD></TR> <TR><TD COLspan="2" align="center"><h3><?=$day;?> คือวัน <?=$thday[$day];?></h3></TD></TR></table> </form></Body></html>

86 สร้างฟอร์มเลือกซื้อสินค้า
ใช้ตัวแปรอะเรย์ สร้างรายการสินค้า ประกอบด้วยช่องสำหรับกาเครื่องหมายแทนการเลือกซื้อสินค้า สินค้าแต่ละรายการ และมีรูปภาพแสดงประกอบ ปุ่มสั่งซื้อสินค้าเพื่อยืนยันการเลือกซื้อสินค้า และปุ่มเคลียร์เพื่อยกเลิกการเลือกซื้อสินค้า เมื่อแสดงผลบนบราวเซอร์จะได้ดังรูป

87 สร้างฟอร์มเลือกซื้อสินค้า
<HTML><HEAD><TITLE>KFC® Thailand - So Good</TITLE> <META HTTP-EQUIV="CONTENT-TYPE" CONTENT="TEXT/HTML; CHARSET=UTF-8"> </HEAD><BODY><form name="orderkfc" action="orderkfc.php"> <? $kfc=array("99fillup"=>99,"temsuk"=>199,"suksurprise"=>259,"imsukjai"=>399,"suklonjai"=>599,"pepsi500ml"=>25,"pepsi1_45ml"=>39,"eggtart"=>19); $kfcimg=array("99fillup"=>"img/1.png","temsuk"=>"img/2.png","suksurprise"=>"img/3.png","imsukjai"=>"img/4.png","suklonjai"=>"img/5.png","pepsi500ml"=>"img/6.png","pepsi1_45ml"=>"img/7.png","eggtart"=>"img/8.png"); ?> <img src="img/0.png" width="15%" align="center"> <h2>WelcomeWhat are you hungry for today?</h2><h3>เติมความสุข ไปกับ</h3> <table width="50%"> $i=0; echo "<TR align='center'>"; while(list($k,$v)=each($kfc)){ if($i%4==0){echo "</tR><TR align='center'>";} echo "<Td><img src='$kfcimg[$k]'>"; echo "<p><input type='checkbox' name='chk[]' value='$k'>ราคา $v บาท</p></td>"; $i++;}?> </td></tr><tr><TD align="center" colspan="4"> <input type="submit" value="สั่งซื้อ"> <input type="reset" value="เคลียร์"></TD></tr> </Table></form></BODY></HTML>

88 orderkfc.php <HTML><HEAD><TITLE>KFC® Thailand - So Good</TITLE> <META HTTP-EQUIV="CONTENT-TYPE" CONTENT="TEXT/HTML; CHARSET=UTF-8"></HEAD> <BODY> <? $kfc=array("99fillup"=>99,"temsuk"=>199,"suksurprise"=>259,"imsukjai"=>399,"suklonjai"=>599,"pepsi500ml"=>25,"pepsi1_45ml"=>39,"eggtart"=>19); $kfcimg=array("99fillup"=>"img/1.png","temsuk"=>"img/2.png","suksurprise"=>"img/3.png","imsukjai"=>"img/4.png","suklonjai"=>"img/5.png","pepsi500ml"=>"img/6.png","pepsi1_45ml"=>"img/7.png","eggtart"=>"img/8.png"); ?> <img src="img/0.png" width="15%" align="center"> <h2>Welcome What are you hungry for today?</h2><h3>เติมความสุข ไปกับ</h3> <table width="50%"> $i=0; for($i=0;$i<count($chk);$i++){ echo "<TR><Td align='right'><img height='200px' src='".$kfcimg[$chk[$i]]."'></td>"; echo "<TD>จำนวน<input type='hidden' name='kfcset[$i]' value='$chk[$i]'</TD>"; echo "<td><input type='number' name='nochk[$i]' min='1' max='20' value='1'></td><TD>ชุด</TD></TR>"; }?> </td></tr></Table></form></BODY></HTML>

89 การรับค่าตัวแปรจากฟอร์มรับข้อมูล

90 การรับค่าตัวแปรจากฟอร์มรับข้อมูล
การรับค่าตัวแปรจากฟอร์มด้วยวิธีการส่งข้อมูลแบบ GET $ _GET["ชื่อตัวแปรจากฟอร์ม"] การรับค่าตัวแปรจากฟอร์มด้วยวิธีการส่งข้อมูลแบบ POST $_POST["ชื่อตัวแปรจากฟอร์ม"] โดยที่ ชื่อตัวแปรจากฟอร์ม คือชื่อเครื่องมือรับค่าในฟอร์ม ตัวอย่างเช่น สร้างกล่องข้อความเพื่อป้อนข้อมูลชื่อและนามสกุล กำหนดชื่อเป็น NAME ดังนั้นชื่อตัวแปรจากฟอร์มก็คือ NAME

91 ตัวอย่างการรับค่าตัวแปรจากฟอร์มด้วยวิธีการส่งข้อมูลแบบ GET

92 ตัวอย่างการรับค่าตัวแปรจากฟอร์มด้วยวิธีการส่งข้อมูลแบบ GET
<HTML><HEAD><TITLE>คำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม</TITLE> <META HTTP-EQUIV="CONTENT-TYPE" CONTENT="TEXT/HTML; CHARSET=UTF-8"><HEAD> <BODY> <FORM NAME="FORM1" METHOD="GET"> <TABLE WIDTH="50%" BORDER="2"> <TR><TD>ความยาวฐาน</TD> <TD> <input type="text" name="base" value="<? echo $_GET['base'];?>"></TD></TR> <TR><TD>ความสูงของสามเหลี่ยม </TD> <TD><input type="text" name="high"value="<? echo $_GET['high'];?>"></TD></TR> <TR><TD COLSPAN="2" ALIGN="CENTER"> <INPUT TYPE="SUBMIT" VALUE="CALCULATE"> <INPUT TYPE="RESET" VALUE="CLEAR"></TD></TR> </TABLE> </FORM> <? $area=((0.5)*($_GET['base']*$_GET['high'])); echo "<H2>พื้นที่สามเหลี่ยมคือ $area</H2>"; ?> </BoDY></HTML>

93 ตัวอย่างการรับค่าตัวแปรจากฟอร์มด้วยวิธีการส่งข้อมูลแบบ POST
<HTML><HEAD><TITLE>คำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม</TITLE> <META HTTP-EQUIV="CONTENT-TYPE" CONTENT="TEXT/HTML; CHARSET=UTF-8"><HEAD> <BODY> <FORM NAME="FORM1" METHOD="POST"> <TABLE WIDTH="50%" BORDER="2"> <TR><TD>ความยาวฐาน</TD> <TD> <input type="text" name="base" value="<? echo $_POST['base'];?>"></TD></TR> <TR><TD>ความสูงของสามเหลี่ยม </TD> <TD><input type="text" name="high"value="<? echo $_POST['high'];?>"></TD></TR> <TR><TD COLSPAN="2" ALIGN="CENTER"> <INPUT TYPE="SUBMIT" VALUE="CALCULATE"> <INPUT TYPE="RESET" VALUE="CLEAR"></TD></TR> </TABLE> </FORM> <? $area=((0.5)*($_POST['base']*$_POST['high']) ); echo "<H2>พื้นที่สามเหลี่ยมคือ $area</H2>"; ?> </BoDY></HTML>


ดาวน์โหลด ppt PHP อาจารย์ศรีนวล ฟองมณี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google