ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJacob Richardson ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
ท่าเรือสำราญกีฬา ลักษณะความต้องการใช้ท่าเรือสำราญกีฬา ที่ตั้งท่าเรือ (พื้นที่ promote) ปัญหากฎระเบียบที่ต้องตรวจสอบ
2
ความต้องการใช้ท่าเรือ
ท่าหลบภัยธรรมชาติ ท่าหยุดพักระหว่างทาง ท่าจอดเก็บเรือ ท่าจอดเรืออุตสาหกรรมท่องเที่ยว
3
ที่จอดหลบภัยธรรมชาติ
ที่หลบภัยเมื่อพบสภาพอากาศแปรปรวน ทุกระยะ 10 – 20 NM* ที่จอดเรือชั่วคราวที่มีแนวกำบังคลื่นลม เป็นการจอดทิ้งสมอร่วมกับเรือชนิดอื่น * PIANC’s recommendation
4
ที่จอดพักระหว่างเดินทาง
เรือสินค้าจัดคนเป็นผลัด สลับกันทำงานตลอด 24 ชม. ใช้เวลาในท่าเท่าที่จำเป็น เรือยอร์ชมีคนเดินเรือชุดเดียวจอดเพื่อพักผ่อน/ท่องเที่ยว พักบ่อยเท่าที่ต้องการ 20 – 30 NM* * PIANC’s recommendation
5
ที่จอดเก็บเรือ ไม่ได้เดินทางตลอดปี แต่ต้องกลับไปทำงาน// ต้องซ่อมทำ//หมดฤดูท่องเที่ยว จอดเก็บเรือในบริเวณที่การเดินทางเข้าออกทางอากาศสะดวก// มีบริการซ่อมทำ
6
ที่จอดเรือรองรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
มีสถานที่ท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียงต่อเนื่องกันหลายแห่ง การเข้า-ออกทางอากาศทำได้สะดวก มีบริการเรือเช่า ท่าเรือท่องเที่ยว = สถานที่ท่องเที่ยว
7
สถานที่ท่องเที่ยว ชายทะเล
บางแสน พัทยา สัตหีบ ชะอำ หัวหิน เกาะช้าง เกาะกูด เกาะเสม็ด หมู่เกาะชุมพร เกาะเต่า เกาะพะงัน เกาะสมุย หมู่เกาะอ่างทอง เกาะสุรินทร์ เกาะสิมิลัน สถานที่ท่องเที่ยว ชายทะเล ภูเก็ต อ่าวพังงา เกาะพีพี เกาะตะรุเตา
8
ที่จัดกิจกรรม แข่งเรือ
Allied Piefords Hobie Asian Championship Fireball National Championship Admiral Cup Laser Thailand Championship Hobie Thailand Open Championship Varuna Cup Children Day Regatta Enterprise National Championship IODA World Sailing Championship OK National Championship Asean Opimist Championship Top of the Gulf & Coronation Cup 4th Anniversary Regatta Huahin Regatta Super Mod National Championship Koh Samui International Regatta Phuket Kings Cup Phuket Race week ที่จัดกิจกรรม แข่งเรือ
9
ที่ตั้งท่าเรือปัจจุบัน
Ocean Marina Waruna Yacht Club Pattaya Jomtiem Yacht Club Phatra marina Koh Chang Marina Tida Sailing Club ที่ตั้งท่าเรือปัจจุบัน Boat lagoon Royal Phuket Marina Ao Por
10
ประเด็นกฎระเบียบ การควบคุมเรือและคนประจำเรือ การเดินทางเข้าออกประเทศ
การจดทะเบียนเรือ/ตรวจเรือ ประกาศนียบัตรคนประจำเรือ การเดินทางเข้าออกประเทศ การรายงานเรือ ด่านศุลกากร ด่านตรวจคนเข้าเมือง ด่านกักกันโรคพืชโรคสัตว์ กรมเจ้าท่า หน่วยงานอื่น
11
การจดทะเบียนเรือ/ตรวจเรือ
การตรวจแบบใช้บังคับกับเรือ ความยาว > 24 เมตร ไม่ครอบคลุมเรือไฟเบอร์กลาส
12
ประกาศนียบัตรคนเดินเรือยอร์ช
Competence Crew Day Skipper Night Skipper Yacht Master ชั้นประกาศนียบัตร เรือใบต่างประเทศ กฎหมายไทยไม่มีชั้นประกาศนียบัตร คนทำงานบนเรือยอร์ช กฎหมายไทย ลักษณะเรือ ประเภทเรือ ขนาดเรือ (ตันกรอส) ชั้นประกาศนียบัตรฝ่ายเดินเรือ ไม่มีเครื่องยนต์ขับเคลื่อนในตัว เรือใบ ไม่ระบุ ผู้ควบคุมเรือที่มิใช่เรือกล เรือใบชายทะเลชายแดน 15 – 60
13
ชั้นประกาศนียบัตรฝ่ายเดินเรือ
คนประจำเรือ ลักษณะเรือ ประเภทเรือ ขนาดเรือ (ตันกรอส) ชั้นประกาศนียบัตรฝ่ายเดินเรือ มีเครื่องยนต์ขับเคลื่อนในตัว เรือกลเดินทะเลเฉพาะเขต < 30 นายท้ายเรือกลเดินทะเลชั้นสอง นายท้ายเรือกลเดินทะเลชั้นหนึ่ง ประกาศนียบัตรนายประจำเรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ฝั่งขนาด ,000 ตันกรอส นายเรือ: ประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ฝั่งขนาดต่ำกว่า 500 ตันกรอส เรือกลเดินทะเลชายแดน 5 - 60 นายท้ายเรือกลเดินทะเลชายแดน เรือกลเดินทะเลใกล้ฝั่ง < 500 นายเรือ: ปก.นายเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ฝั่งขนาดต่ำกว่า 500 ตันกรอส ต้นเรือและนายประจำเรือ: ปก.นายประจำเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ฝั่งขนาดต่ำกว่า 500 ตันกรอส ลูกเรือเข้ายามสะพานเดินเรือ: ปก.ลูกเรือเข้ายามสะพานเดินเรือของเรือกลเดินทะเล เรือกลเดินทะเลระหว่างประเทศ ปก.นายเรือของเรือกลเดินทะเลระหว่างประเทศขนาดต่ำกว่า 500 ตันกรอส ต้นเรือและนายประจำเรือ: ปก.นายประจำเรือของเรือกลเดินทะเลระหว่างประเทศขนาดต่ำกว่า 500 ตันกรอส
14
ชั้นประกาศนียบัตรฝ่ายช่างกลเรือ
คนประจำเรือ ลักษณะเรือ ประเภทเรือ ขนาดเรือ (kW) ชั้นประกาศนียบัตรฝ่ายช่างกลเรือ ไม่มีเครื่องยนต์ขับเคลื่อนในตัว เรือใบ - ไม่กำหนด มีเครื่องยนต์ขับเคลื่อนในตัว เรือกลเดินทะเล < 125 คนใช้เครื่องจักรยนต์ชั้นสอง < 250 คนใช้เครื่องจักรยนต์ชั้นหนึ่ง <750 คนใช้เครื่องจักรยนต์ชั้นหนึ่งพิเศษ หรือ คนใช้เครื่องจักรยนต์ชั้นหนึ่งพิเศษชำนาญงาน เรือกลเดินทะเลใกล้ฝั่ง และเรือกลเดินทะเลระหว่างประเทศ < 750 ต้นกล: ประกาศนียบัตรรองต้นกลของเรือกลเดินทะเล ขนาดกำลังขับเคลื่อนมากกว่า 3,000 กิโลวัตต์ รองต้นกลและนายประจำเรือฝ่ายช่างกล: ประกาศนียบัตรนายประจำเรือฝ่ายช่างกลของเรือกลเดินทะเล ขนาดกำลังขับเคลื่อน 750 กิโลวัตต์ หรือมากกว่า ลูกเรือเข้ายามฝ่ายช่างกล: ประกาศนียบัตรลูกเรือเข้ายามฝ่ายช่างกลของเรือกลเดินทะเล
15
การรายงานเรือ พรบ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย 2456 ม.16 กำหนดให้เรือกลที่เป็นเรือเดินทะเลและเป็นเรือไทยขนาดตั้งแต่ 60 ตันกรอสขึ้นไป และเรือกำปั่นต่างประเทศ เมื่อเข้ามาในเขตท่าเรือใดๆ ในน่านน้ำไทย นายเรือต้องรายงานการเข้ามาถึงต่อเจ้าท่าตามแบบพิมพ์ภายในเวลา 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่จอดเรือเรียบร้อย การเข้าออกประเทศ VS การเข้าออกเมืองท่า
16
ด่านตรวจคนเข้าเมือง ระยะเวลาอนุญาตให้อยู่ในประเทศ
นักท่องเที่ยว 90 วัน ผู้ควบคุมยานพาหนะ 30 วัน การเดินทางท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญกีฬาได้รับการพิจารณาเป็นผู้ควบคุมยานพาหนะ (นายเรือและลูกเรือ)
17
กรมศุลกากร นำเข้ามาใช้ในประเทศไม่เกิน 6 เดือน (ท่องเที่ยว) วางค้ำประกัน นำเข้าประเทศ เสียภาษีอากร พิกัด รายการ ทั่วไป อาเซียน จีน Aus. NZ ชนิดพองลม 35 ยกเว้น 12 8 เรือใบ มีหรือไม่มีมอเตอร์ช่วย เฉพาะเรือใบที่ใช้ในการแข่งขัน 5 อื่นๆ เรือยนต์ นอกจากเรือยนต์ติดท้าย อื่น ๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.