งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์ URL:

2 Information Technology IT Communication C ICT
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Information Technology IT Communication C ICT

3 ที่มา: http://www.tdsat.nic.in/presHy/Sridhara%20-%20Inaugural.ppt
ICT I: Information (สารสนเทศ) C: Computing (การประมวลผล) T: Telecommunication (โทรคมนาคม) ที่มา:

4 ระบบสารสนเทศกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Systems vs
ระบบสารสนเทศกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Systems vs. Information Technology) ระบบสารสนเทศ (Information Systems: IS) – ส่วนประกอบ (components) และทรัพยากร (resources) ที่ทำหน้าที่ในการรับส่ง (deliver) สารสนเทศและประมวลผล (processing) สารสนเทศในองค์การ (organization) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) – ฮาร์ดแวร์ (hardware) ที่เป็นส่วนประกอบสำหรับระบบปฏิบัติงาน

5 ระบบสารสนเทศกับเทคโนโลยีสารสนเทศเหมือนหรือแตกต่างกัน (IS and IT: the same or different?)
IS ≠ IT; ระบบสารสนเทศ (Information Systems: IS) ระบบหรือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการสนับสนุนการทำงาน (Refers to computerized applications or systems that supports a business through technology) คนและการบริหาร การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ การรวบรวม การประมวลผล การจัดเก็บ การใช้ และการเผยแพร่สารสนเทศ (Means by which people and organizations, utilization of IT, gather, process, store, use and disseminate information: UKAIS) เน้นการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ (Concerned with purposeful utilization of IT) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT or ICT) เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม เครือข่าย (Refers to technology: HW, SW, telcom n/works) สิ่งที่มองเห็น (Tangible ) เช่น เครื่องแม่ข่าย (servers) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PCs) อุปกรณ์จัดการเส้นทางข้อมูล (routers) สายสัญญาณ (cables) สิ่งที่มองไม่เห็น (Intangible) เช่น ซอฟต์แวร์ (software)

6 ระบบสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ (IS and IS resources)
(Information Systems) ความต้องการด้านการบริหาร (Management challenges) ประชาชน (PEOPLE) การประยุกต์ใช้ในการทำงาน (Business applications) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technologies) ทรัพยากรระบบสารสนเทศ (Information Systems Resources) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) กระบวนการพัฒนา (Development processes) แนวคิดพื้นฐาน (Foundation concepts) ข้อมูล (Data) เครือข่าย (Networks) ที่มา: O’ Brien, James A. Management Information Systems. 6th ed. McGraw Hill: Irwin, 2004.

7 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ (Components of an Information System)
Communications media and network support ทรัพยากรคน (People Resources): ผู้ใช้งาน (End users) และผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศ (IS specialists) ข้อมูล (Data) ตัวแบบ (Model) และฐานความรู้ (Knowledge Bases) ทรัพยากรข้อมูล (Data Resources) โปรแกรมและกระบวนการ (Programs and Procedures) ทรัพยากรซอฟต์แวร์ (Software Resources) ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ (Hardware Resources) เครื่องจักร (Machines) และสื่อ (Media) สื่อการสื่อสาร (Communications media) และการสนับสนุนด้านเครือข่าย (network support) ทรัพยากรเครือข่าย (Network resources) การควบคุมระบบผลสัมฤทธิ์ (Control of System Performance) การจัดเก็บทรัพยากรข้อมูล (Storage of Data resources) การนำเข้าทรัพยากร ข้อมูล (Input of Data Resources) การประมวลผลข้อมูล เป็นสารสนเทศ (Processing Data into Information) ผลลัพธ์ที่เป็น สารสนเทศ (Output of Information Products) ที่มา: O’ Brien, James A. Management Information Systems. 6th ed. McGraw Hill: Irwin, 2004.

8 ผู้เกี่ยวข้องในสภาพแวดล้อมการบริหารงาน (Stakeholders in the Business Environment)
ชุมชน (The community) คู่แข่ง (Competitors) การบริหาร (Management) ผู้ใช้บริการ (Customers) จัดหาสินค้าและบริการ (Suppliers) การควบคุม (Control) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ระบบสารสนเทศ (Information Systems) ทรัพยากรด้านเศรษฐกิจ (Economic Resources:) คน (People) เงิน (Money) วัสดุ (Material) ที่ดิน (Land) สิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities) พลังงาน (Energy) สารสนเทศ (Information) กระบวนการด้านการบริหาร (Organizational Processes:) ผลิตภัณฑ์ (Production) การตลาด (Marketing) การเงิน (Finance) บุคลากร (Personnel) กระบวนการอื่น ๆ (Other Processes) สินค้าและบริการ (Goods and Services:) สินค้า (Products) บริการ (Services) การจ่ายเงิน (Payments) การสนับสนุน (Contributions) สารสนเทศ (Information) ผลกระทบอื่นๆ (Other Effects) (Government Agencies) หน่วยงานของรัฐ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stockholders) นำเข้า (Input) ประมวลผล (PROCESSING) ผลลัพธ์ (Output) สถาบันทางการเงิน (Financial Institutions) สภาพแรงงาน (Labor Unions)

9 พัฒนาการของสังคมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

10 พัฒนาการของเทคโนโลยี
นาโนเทค (NanoTech) ไบโอเทค (BioTech) อินเทอร์เน็ต (Internet) คอมพิวเตอร์ (Computers) ระดับของนวัตกรรม (Rate of Innovation) พลังนิวเคลียร์ (Nuclear Power) การเดินทางด้วยเครื่องบิน (Air Travel) ผลิตภัณฑ์จากเหล็ก (Iron & Steel) เครื่องมือจากหิน (Stone Tools) 60,000 BC ที่มา: Trillion Dollar Collision

11 วิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีของสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ -คอมพิวเตอร์ -โทรคมนาคม เช่น การสื่อสารแบบดิจิตอล, การสื่อสารด้วยสายใยแก้วนำแสงและดาวเทียม -เทคโนชีวภาพ ฯลฯ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม -เครื่องจักรไอน้ำ เครื่องยนต์ -เครื่องมืออุตสาหกรรม -วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ -การพิมพ์ ฯลฯ เทคโนโลยีเกษตรกรรม -เครื่องมือเกษตรกรรม เช่น ไถ -การชลประทาน -ดาราศาสตร์ -ภาษาเขียน ฯลฯ เทคโนโลยีล่าสัตว์ -ขวานหิน -ถ้วย ชาม ธนู -การจุดไฟ -ภาษาพูด ฯลฯ ปี 1945-ค.ศ. 21 ค.ศ. 18-ค.ศ. 20 10,000 ปีก่อน ค.ศ.-ค.ศ. 18 3 ล้านปี - 10,000 ปีก่อน ค.ศ.

12 วิวัฒนาการของอุตสาหกรรม

13 วิวัฒนาการด้านการสื่อสารของมนุษย์

14 เทคโนโลยีก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
เวลา เหตุการณ์ 3000 ปีก่อน ค.ศ. ชาวจีนประดิษฐ์ลูกคิด 400 ปีก่อน ค.ศ. ชาวกรีกประดิษฐ์เครื่องคำนวณการโคจรดวงดาวและโลก ค.ศ. ที่ 17 ชาวยุโรปพัฒนาระบบเลขอาราบิคด้วยเลข 0 ปี 1614 John Napier ชาวสก๊อต-> logs ปี 1623 Wilhelm Schickard ชาวเยอรมันพัฒนาต้นแบบเครื่องคำนวณ 6 หลัก ปี 1642 Blaise Pascal ชาวฝรั่งเศสพัฒนาเครื่อง Pascaline คำนวณ 8 หลัก ปี 1802 Joseph Marie Jacquard ชาวฝรั่งเศสสร้างเครื่องทอผ้า Jacquard’s loom ที่ควบคุมด้วยบัตรเจาะรู (punch cards) ปี 1821 Charles Babbage ชาวอังกฤษสร้างเครื่องหาผลต่าง (Difference Engine) เพื่อคำนวณและพิมพ์ ค่าทางตรีโกณมิติและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ต่อมายกเลิกและสร้างเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) แต่ไม่สำเร็จ ปี 1842 Lady Auqusta Ada Byron ชาวอังกฤษ เขียนขั้นตอนคำสั่งให้เครื่อง Analytical Engine ทำงาน(โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก) ปี 1854 George Boole ชาวอังกฤษ สร้างกฎ Boolean Algebra ปี 1890 Herman Hollerith ชาวอเมริกันประดิษฐ์เครื่องประมวลผลทางสถิติซึ่ง ใช้กับบัตรเจาะรูคำนวณผลการสำมะโนประชากร 7->2 ปี ปี 1936 Konrad Zuse ชาวเยอรมันประดิษฐ์เครื่องจักรกลแบบ Binary ชื่อ Z1 ที่สามารถจำตัวเลขได้ 64 ตัว

15 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
ค.ศ.ที่ 17 Arabic System 100 ปีก่อน ค.ศ. Antikythera Mechanism ปี logs ปี 1854-Boolean Algebra 3000 ปีก่อน ค.ศ. Abacus ปี 1642 Pascaline ปี 1802 Jacquard’s loom ปี 1821 Difference Engine ปี 1936 Binary Machines (Z1)

16 ผลจากความขัดแย้งของสงครามโลกครั้งที่ 2
เวลา เหตุการณ์ ปี 1939 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดความต้องการในการคำนวณเพิ่มขึ้น (วิถีกระสุนปืนใหญ่และตำแหน่งทิ้งระเบิด) -> ใช้สตรีมาทำงานด้านการคำนวณเป็นจำนวนมาก ปี John Atanasoff & Clifford Berry ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้หลอดสุญญากาศแต่ไม่มีโปรแกรมชื่อ ABC Computer ปี 1944 Howard Aiken ชาวอเมริกันร่วมกับ IBM สร้างเครื่องจักรกลปนไฟฟ้าและใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อชื่อ MARK 1 ปี John W. Mauchly และ Persper Eckert จากมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกาสร้างเครื่อง ENIAC (Electronic Numberical Integrater and Caculator) ควบคุมด้วยโปรแกรมจากภายนอกเครื่อง แต่ไม่ได้นำไปใช้ในสงครามโลก ปี 1949 John Von Neumann ชาวฮังกาเรียน พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer) ที่สามารถเก็บคำสั่งไว้ในตัวเครื่องได้สำเร็จ ปี 1950 กำเนิด MODEM ปี 1953 IBM ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกออกจำหน่าย ชื่อ IBM 701

17 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ปี 1953 IBM 701 ปี ABC Computer ปี 1944 Mark I ปี 1946 ENIAC

18 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วงสงครามเย็น-1
เวลา เหตุการณ์ ปี 1957 รัสเซียส่งดาวเทียมจารกรรม Sputnik ขึ้นโครจร ปี 1956 เครื่อง IBM 301 มี Hard Drive ปี 1958 สหรัฐสร้างหน่วย ARPA (Advanced Research Projects Agency) ขึ้นตรงกับกระทรวงกลาโหม ปี 1861 เกิดแนวคิด Packet-Switching (PS) ปี 1960 สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง คือ Digital PDP-1 ปี 1964 Douglas Englebart ประดิษฐ์เมาส์ (Mouse) ปี 1966 วิศวกรจากบริษัท Standard Telecommunication Laboratories ประเทศอังกฤษเสนอแนวคิดส่งสัญญาณสื่อสารด้วยแสง ปี 1968 แนวคิด Packet-Switching (PS) เสนอต่อ ARPANet ปี 1969 ARPANet เริ่มโครงการและสามารถส่งข้อมูลระหว่าง University of California at Los Angeles <-> Stanford Research Institute สำเร็จ แล้วจึงขยายไปยัง University of California at Santa Barbara และ University of Utah ปี 1971 ขยายเครือข่าย ARPANet เพิ่มเป็น 15 Node เชื่อมโยงหน่วยงานสำคัญ ๆ ในสหรัฐอเมริกา มีโปรแกรม ปี 1973 Xerox PARC พัฒนาระบบ GUI

19 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วงสงครามเย็น
1960 Digital PDP-1 1964 Mouse 1969 First Node 1969 2 Node 1969 4 Node 1971 15 Node

20 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วงสงครามเย็น-2
เวลา เหตุการณ์ ปี บริษัท MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) สร้างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ชื่อ Altair และ IBM ผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เชื่อ IBM 5100 ออกจำหน่าย ปี 1976 บริษัท Apple สร้าง Apple I และ Apple II จำหน่าย ปี 1977 การรับส่งข้อมูลด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตขยายตัวไปทั่วโลก ปี 1979 มีโปรแกรม Spread sheet และ Word processor ปี 1981 IBM เปิดตัวเครื่อง IBM PC Osborne Computer Company เปิดตัวเครื่อง Osborne Portable Computer ปี 1982 เกิดมาตรฐาน TCP/IP (Transmission Control Protocol and Internet Protocol) ปี 1984 ARPANet ปิดตัวลง ปี 1989 Tim Berners-Lee at European Laboratory for Particle Physics (CERN) - เสนอโครงการพัฒนาการจัดการสารสนเทศแบบเครือข่าย (mesh) ปี 1990 - สร้าง Browser Editor - พัฒนาเอกสารเพื่อเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต HTML และเปลี่ยนจากการใช้คำว่า Mesh -> World Wide Web - สร้างเว็บไซต์แห่งแรกของโลกที่ Info.cern.ch บนเครื่องแม่ข่ายเว็บ (Web Server) เครื่องแรกของโลกชื่อ NeXT computer

21 โครงการของทิม เบอร์เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee's proposal)
NeXT computer แนวคิดการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศ ที่มา:

22 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วงหลังสงครามเย็น
เวลา เหตุการณ์ ปี 1991 รัสเซียล่มสลาย เครือข่าย NSF (National Science Foundation) ยกเลิกการห้ามใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อวัตถุประสงค์การทางการค้า ปี 1992 เริ่มมีการประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตใน e-commerce ปี 1993 Marc Andreesen แห่ง NCSA (National Center for Supercomputing Applications) in the University of Illinois in Urbana-Champaign (UIUC) พัฒนา WEB browser ชื่อ Mosaic ปี 1994 Marc Andreesen ร่วมกับ Jim Clark พัฒนา Netscape Navigator. David Filo & Jerry Yang นิสิตปริญญาเอกของ Stanford University สร้าง Yahoo ปี 1996 Larry Page and Sergey Brin นิสิตระดับมหาบัณฑิตของ Stanford University ร่วมกันพัฒนาโปรแกรมค้นหาข้อมูลBackRub -> Google

23 วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (Evolution of the Internet)
Age of eCommerce Begins 1995 Mosaic Created 1993 WWW Created 1989 Internet Named and Goes TCP/IP 1984 TCP/IP Created 1972 ARPANET 1969 Hypertext Invented 1965 Packet Switching Invented 1964 First Vast Computer Network Envisioned 1962 Silicon Chip 1958 A Mathematical Theory of Communication 1948 Memex Conceived 1945 1945 1995 ที่มา: William F. Slater, III. Internet History and Growth

24 การขยายตัวของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ประเทศที่สามารถรับและส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( ) ในปี 1977 โดยที่ยังไม่ได้มีการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต

25 การเติบโตของเทคโนโลยี
120 ร้อยละของการเป็นเจ้าของ 100 80 60 40 20 ไฟฟ้า ( %) โทรศัพท์ ( %) รถยนต์ ( %) โทรทัศน์ ( %) วิทยุ ( %) เครื่องเล่นวีดีโอ ( %) เตาอบ ( %) ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มนำมาใช้ คอมพิวเตอร์ ( %) อินเทอร์เน็ต ( %) โทรศัพท์มือถือ ( %) ที่มา: Forbes, 1998

26 พัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย
ประเทศไทยเริ่มนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 หน่วยงานราชการหน่วยงานแรกที่เริ่มมีการนำคอมพิวเตอร์ใช้งาน คือ สำนักงานสถิติแห่งชาติ เพื่อประมวลผลสำมะโนเกษตร ในปีเดียวกันนี้ ศูนย์คำนวณสถิติ แผนกวิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอน ปี พ.ศ ภาคธุรกิจ คือ บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด และธนาคารกรุงเทพ จำกัด ก็นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารงาน ปี พ.ศ ตั้งคณะกรรมการคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Computer Committee: NCC) ปี พ.ศ ม.สงขลานครินทร์และ AIT เริ่มติดต่อรับส่ง กับ University of Melbourne ปี พ.ศ 2535 ตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติหรือคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (National Information Technology Committee: NITC) ภาครัฐได้เริ่มมีการกำหนดกรอบของการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ – 2534) ปี พ.ศ ประเทศไทยได้ประกาศใช้นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับแรก (IT 2000) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 78 กำหนดให้รัฐต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันทั่วประเทศ ปี พ.ศ ประเทศไทยประกาศใช้นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับที่สอง (IT 2010)

27 องค์ประกอบและสภาพแวดล้อมของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

28 องค์ประกอบของเครือข่ายสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ คน การบริหาร ข้อมูล

29 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ICT ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม/มินิ (Mainframes and mini-computers) ซุปเปอรืคอมพิวเตอร์ (Super-computers) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal computers) ตู้วีดีโอเท็กซ์ (Videotext terminals) ตู้ให้บริการตนเอง (Self-service terminals or kiosks) หน่วยความจำแบบแผ่นชนิดอ่านอย่างเดียว (Compact disk-read only memory) อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input devices) อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile device) โทรทัศน์ดิจิทัลแบบโต้ตอบ (Interactive digital television) เครือข่ายและการสื่อสาร (Networking and communication) โทรคมนาคม (telecommunication) และเครือข่าย (networking) โทรศัพท์ (telephone) ชุมสายเครื่องโทรพิมพ์ (telex) เครื่องโทรสาร (fax) และโมเด็ม (modems) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer networks): LAN และ WAN ระบบการประชุมทางไกล (tele-conferencing) ดาวเทียม (satellite) และการสื่อสารเคลื่อนที่ (mobile communications) การสื่อสารเคลื่อนที่ (mobile communication): โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phones) การสื่อสารช่องทางเฉพาะขององค์การ (CB communication) เครื่อง เครื่องส่งสัญญาณติดตามตัว (bleepers) วิทยุติดตามตัว (pagers) เครือข่ายดิจิทัลแบบบริการร่วม (Integrated Services Digital Networks: ISDN) อินเทอร์เน็ต (internet) และทางด่วนสารสนเทศ (the information superhighway) ซอฟต์แวร์ (Software) การบริหารฐานข้อมูล (Database management) การประมวลผลคำ (Word processing) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์และเว็บบราวเซอร์ (Electronic mail and web browsers) การสื่อสารกับฐานข้อมูล (Communication with databases) การบัญชี (Accounting) โปรแกรมให้บริการของสำนักงาน (Frontoffice) และบริหารงานของสำนักงาน (back-office) เช่น การวางแผน (planning) การเงิน (financial) และการบริหารบัญชี (management accounting) บุคคล (personnel) เงินเดือน (payroll) ผู้ส่งสินค้า (supplies) ควบคุมรายการสินค้า (inventory control) ความปลอดภัย (security) ควบคุมพลังงาน (energy control) อาหาร (food) และเครื่องดื่ม (beverage control) และระบบบริหารสารสนเทศ (management information systems) ภาษาในการนิยามข้อมูล (Data definition languages) และโปรโตคอล(protocols) เช่น XML, ebXML และอื่นๆ เน็ตแวร์ (Netware) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer networks) ดาวเทียม (satellites) และระบบการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless communication systems) วีดีโอเท็กซ์ (videotext) เทเลเท็กซ์ (teletext) และโทรศัพท์ (telephones) อินเทอร์เน็ต (internet) เอ็กซ์ทราเน็ต (extranets) อินทราเน็ต (intranets) เว็บ (WWW) การรับส่งไฟล์ (FTP) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( ) การชำระเงินค่าสินค้า ณ จุดขาย (electronic funds transfer at point of sale: EFTPOS) ระบบ ณ จุดขาย (point of salePOS) ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data interchange: EDI) Source: Buhalis (2003)

30 องค์รวมของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บุคลากร ฐานข้อมูล อินเทอร์เน็ทและอินทราเน็ท เครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายเว็บ องค์การ อินเทอร์เน็ท ประชาชน การสื่อสาร มีสายและไร้สาย ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้

31 สภาพแวดล้อมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อมูลและสารสนเทศ เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การสื่อสารและคมนาคม กระดาษ ระบบสารสนเทศ กระบวนการ ประชาชน การบริหาร การจัดการ ยุทธศาสตร์ การเมือง วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การปกครอง เศรษฐกิจ สถาบัน สังคม -วัฒนธรรม เทคนิค Heeks, 2001

32 โครงสร้างสารสนเทศ (Infostructure)
social infrastructure technical infrastructure information

33 ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

34 ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Types of Information Technologies)#1
Laudon, Kenneth, Traver, Carol Guercio and Laudon, Jane Price (1994) จำแนกประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศในสังคมเป็น 4 ประเภท เทคโนโลยีการรับรู้ (Sensing Technologies) เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) เทคโนโลยีการวิเคราะห์ (Analyzing Technologies) เทคโนโลยีการแสดงผล (Display Technologies) Image scanners Digital sensors Virtual reality digital gloves or Suit Bar code scanners Keyboards Mice LANs and other computer networks Cellular phones Fax machines Modems Telephone networks Microcomputer Workstations Minicomputers Mainframes Supercomputers Software LCDs (Color liquid crystal display screens) HDTV (High-definition television) Virtual reality display Voice output High-resolution monitors Printers Laudon, Kenneth, Traver, Carol Guercio and Laudon, Jane Price (1994) Information technology and society. Belmont : Wadsworth

35 ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Types of Information Technologies)#2
เทคโนโลยีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Computer Hardware Technologies) ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Microcomputers) เครื่องแม่ข่ายคอมพิวเตอร์ระดับกลาง (Midsize Servers) ระบบคอมพิวเตอร์เมนเฟรมขนาดใหญ่ (Large Mainframe Systems) และอุปกรณ์นำเข้า (Input) อุปกรณ์แสดงผล (Output) และอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage) เทคโนโลยีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Software Technologies) ได้แก่ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) โปรแกรมท่องเว็บ (Web browsers) ชุดโปรแกรมสำเร็จรูป (Software Suites) และโปรแกรมประยุกต์เฉพาะด้าน (Software Applications) เช่น Customer Relationship Management และ Supply Chain Management เทคโนโลยีเครือข่ายโทรคมนาคม (Telecommunications Network Technologies) ได้แก่ อุปกรณ์โทรคมนาคม (Telecommunications Media) อุปกรณ์ประมวลผล (processors) และโปรแกรมสำหรับระบบจัดการการโทรคมนาคมแบบใช้สาย (Wire-based) แบบไร้สาย (Wireless-based) และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet-based networks) เทคโนโลยีการบริหารทรัพยากรข้อมูล (Data Resource Management Technologies) ได้แก่ โปรแกรมบริหารระบบฐานข้อมูล (Database Management System) สำหรับจัดการ (Organization) พัฒนา (Development) การเข้าถึง (Access) และการบำรุงรักษา (Maintenance)

36 ประเภทของระบบสารสนเทศ (Types of Information Systems)
This slide corresponds to Figure 1.25 on pp. 32 and relates to the material on pp ระบบสารสนเทศ สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ระบบสนับสนุน การปฏิบัติงาน ระบบสนับสนุน การบริหาร สนับสนุนการตัดสินใจทางการบริหาร Information Systems can be classified by the type of the support they provide an organization. 1. Operations Support Systems: Support systems process data generated by and used in business operations. Their role can be divided into the following areas: TPS. These systems record and process data resulting from business transactions, such as sales, purchases, and inventory changes. Transaction processing can be conducted either through batch processing - accumulating data over a period of time for processing periodically; or in realtime - processing immediately through the IS as the transaction occurs. PCS. These systems make decisions about routine matters, such as automatic inventory reorder and production control decisions. ECS. Enhance team, workgroup, and enterprise communications and productivity. For example, knowledge workers in a project team may use electronic mail to send and receive electronic messages and videoconferencing to hold electronic meetings to coordinate their activities. 2. Management Information Systems: Support systems used to assist managers in decision making. Their role can be divided into the following areas: MIS. A management support system that produces prespecified reports, displays, and responses on a periodic, exception, and demand basis. DSS An information system that utilizes decision models, a database, and a decision maker’s own insights in an ad hoc, interactive analytical modeling process to reach a specific decision by a specific decision marker. EIS. An information system with additional capabilities, including data analysis, decision support, electronic mail, and personal productivity tools. ระบบประมวลผลการทำธุรกรรม (Transaction Processing Systems) ระบบควบคุมกระบวนการ (Process Control Systems) ระบบประสานงานและการสื่อสาร (Communication & Collaboration Systems) ระบบสารสนเทการบริหาร (Management Information Systems) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) ระบบสารสนเทศสำหรับ ผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems) กระบวนการทำธุรกรรมของธุรกิจ (Processing Business Transactions) ควบคุมกระบวนการของการผลิต/อุตสาหกรรม (Control of Industrial Processes) การประสานงานของทีมงานและกลุ่มงาน (Team and Workgroup Collaboration) การจัดทำร่างรายงานเฉพาะด้านสำหรับผู้บริหาร (Prespecified Reporting for Managers) สนับสนุนการตัดสินใจแบบโต้ตอบ (Interactive Decision Support) สารสนเทศตามความต้องการของผู้บริหารระดับสูง (Information Tailored for Executives) 12 13 9 9 9 9

37 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสังคม

38 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการผลิต
นำเข้า (Input) ทำการส่งสินค้า (Products shipped) ขายสินค้า (Products sold) = การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite communications) สแกนบาร์โค้ด (Bar code scanners) ส่งข้อมูลกลับ (Feedback) ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขา (Local PC System) สำนักงานใหญ่ (Headquarters) การส่งสินค้า (Shipping) รายงาน/แสดงผล (Display/ print reports) ศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center) ใบเสร็จ (Inventory) สินค้า (Production) ประมวลผล (Processing) ผลลัพธ์ (Output)

39 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ไขปัญหา
(Problem) ระบบสารสนเทศสำหรับแก้ไขปัญหา (Information system solution) นำเข้าหรือตรวจรับข้อมูล (Input or Sensing) การสื่อสาร (Communication) ระบบสารสนเทศ (Information system) การวิเคราะห์ (Analyzing) การแสดงผล (Display)

40 “20 cartons of small red pillows shipped to retail store ABC-123”
ธุรกิจออนไลน์แบบเวลาจริง (Real Time Business) retail supply chain Retail Suppliers Retail Stores Retail Chain HQ Distribution Centre Networked Storage Notify Retail HQ Send invoice to Retailer Ship more stock Order Replacement materials Store Data for Reports and Analysis Shipping confirmation “20 cartons of small red pillows shipped to retail store ABC-123” EVENT DATA RFID-Tagged Inventory and Readers ที่มา: facweb.cs.depaul.edu/econfer/ect481/Class Material/ECT 481 Session 8A.ppt

41 ความอเนกประสงค์ของคอมพิวเตอร์ (Universal Computers)
Typewriter Copier Calculator Sketch Pad Photo Album Music Player / Radio Movie Player / TV Phone Music Composer Phone Book Calendar Games Complete Entertainment, Education, Communication, Work Device

42 การใช้คอมพิวเตอร์ในครัวเรือน (Home User)
บริหารการเงินส่วนบุคคล (Personal finance management) ท่องเว็บ (Web access) การสื่อสาร (Communications) ความบันเทิง (Entertainment)

43 การใช้คอมพิวเตอร์ในสำนักงานขนาดเล็ก (Small Office/Home Office (SOHO) User)
โปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพงาน (Productivity software) เช่น Word Processing Spreadsheet Database Management Systems Presentation Programsโปรแกรมเฉพาะด้าน (Specialty software) ท่องเว็บ (Web usage) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )

44 การใช้คอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ (Mobile User)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) Notebook computers PDAs Smart phones Tablet PCs ซอฟต์แวร์ (Software) Word processing Spreadsheet Presentation graphics software

45 การใช้คอมพิวเตอร์ระดับกลาง-สูง (Power User)
เป็นระบบงานที่ต้องการความเร็วและระบบจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ประเภทผู้ใช้ระดับกลาง-สูง วิศวกร (Engineers) นักวิทยาศาสตร์ (Scientists) สถาปนิก (Architects) นักโฆษณา (Desktop publishers) ศิลปินด้านกราฟิก (Graphic artists)

46 การใช้งานคอมพิวเตอร์ในธุรกิจขนาดใหญ่ (Large Business User)
บัญชีเงินเดือน (Payroll) บัญชีสินค้า (Inventory) การค้าอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) การโฆษณา (Desktop publishing)

47 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคม (Computer Applications in Society)
การศึกษา (Education) การเงิน (Finance) การบริหารงานภาครัฐ (Government) วิทยาศาสตร์ (Science) สิงพิมพ์ (Publishing) การท่องเที่ยว (Travel) การผลิต (Manufacturing)

48 ระบบติดตามอากาศและน้ำแบบอัตโนมัติ (Automated Monitoring of Weather and Water)
Core Activities

49 การหลอมรวมเทคโนโลยี (Convergence of Technologies)
Television +Broadcasting + Mobile+ Fixed Telephone+Broadband+ Game Console ที่มา:

50 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

51 ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้ (Knowledge) อาชีพ (Careers) สังคม (Society) องค์การ (Organizations)


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google