ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คริส กรีเซน พลังไท สงขลา 25 ธันวาคม 2550
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานน้ำขนาดเล็ก, ประมาณการต้นทุน และอัตราคืนทุนสำหรับการขายไฟฟ้าในระบบของการไฟฟ้า คริส กรีเซน พลังไท สงขลา 25 ธันวาคม 2550
2
การลงทุนในพลังงานหมุนเวียนทั่วโลก (ปี 2538 – 2547)
Source: Martinot 2007. ร้อยละ 20 ของการลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าเป็นพลังงานหมุนเวียน
3
พลังงานแสงอาทิตย์ โลตัส สาขา พระรามที่1 460 kW ต้นทุน : 75,165,000 baht 13.7 km 13.7 km หากติดตั้ง 0.037% ของพื้นที่ประเทศไทยสามารถ ผลิตไฟฟ้า = ความต้องการใช้สูงสุด (22,586 MW) I’ll start with the most expensive technology – since it’s still quite interesting. The solar market world-wide is growing at an amazing pace – about 60% per year. It used to be that it was mostly off-grid systems (blue), but in the past few years the on-grid market has taken over. All of these installations are offsetting pollution from centralized power plants. Does Thailand have good solar resource? Just for fun, it’s easy to calculate how much of Thailand’s area covered in solar panels would power the whole country. A solar array 14 km x 14 km could power all of Thailand’s peak electricity demands -- only 0.037% of Thailand’s land area. The peak happens during the middle of the hottest weekday of the year. (you’d have to figure out how to power the country at night). Of course, it makes more sense to put panels on tops of roofs… Here’s an example just a few km from us – on top of the Tesco Lotus at Rama I. World-wide 2006: 6,000 MWp cumulative 2007: >9,000 MWp cumulative เทคโนโลยีที่เติบโตเร็วที่สุด คือ พลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ที่เชื่อมกับระบบโครงข่ายไฟฟ้า, เติบโต 60% ต่อปี ในช่วงปี
4
พลังแสงอาทิตย์ ประชากรไทย: 65,069,000 จำนวนประชากร ต่อ ครัวเรือน: 5
3 kW = 660,000 บาท ประชากรไทย: 65,069,000 จำนวนประชากร ต่อ ครัวเรือน: 5 จำนวนครัวเรือน: 13,014,000 ขนาดระบบ: 3 kW หาก 58% ของครัวเรือนติดตั้ง 100% ของความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด ราคารับซื้อVSPP: บาท / kWh เป็นเวลา 10 ปี There is more than enough rooftops in the country to power Thailand’s peak load. Here’s a photo of a typical 3 kW solar electric system sold in Thailand. If one of these was installed on 58% of Thai households, it could produce enough electricity to meet Thailand’s peak load. They’re expensive, though.
5
ระบบโซล่าโฮม (พลังงานแสงอาทิตย์ระดับครัวเรือน)
The Thai government last year started a massive solar home system program, providing a solar panel and battery for each unelectrified household in the country. There’s over 203,000 systems, installed at a cost to tax payers of about $200 million. These systems have had some sustainabilty problems because equipement that was used was not that good. But it represents an admirable effort nonetheless. ระบบทั่วประเทศมีปัญหาเรื่องความยั่งยืนของระบบและการใช้
6
หากเลิกใช้แผงแล้ว และไฟฟ้าจาก กฟภ
หากเลิกใช้แผงแล้ว และไฟฟ้าจาก กฟภ. เข้าถึงหมู่บ้านสามารถนำแผงมาประกอบเป็นระบบที่เชื่อมกับไฟฟ้าของ กฟภ. แผงโซล่าร์ 30 แผง (แผงละ 120 W) ฟรี อินเวอร์เตอร์เชื่อมระบบขนาด 3.5 kVA 75,000 บาท ค่าอุปกรณ์สำหรับติดตั้งแผง 10,000 บาท อื่น ๆ ,000 บาท รวม 90,000 baht
7
หากเลิกใช้แผงแล้ว และไฟฟ้าจาก กฟภ
หากเลิกใช้แผงแล้ว และไฟฟ้าจาก กฟภ. เข้าถึงหมู่บ้านสามารถนำแผงมาประกอบเป็นระบบที่เชื่อมกับไฟฟ้าของ กฟภ. ลงทุน: 90,000 บาท ราคารับซื้อ VSPP: บาท/kWh รายได้/ปี: 34,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน: 2.6 ปี อัตราผลตอบแทนการลงทุน: 43%
8
พลังลม ขนาด 100 w - 5 MW ต่อ กังหัน ในประเทศเยอรมนีมีมากกว่า 18,000 MW
ในเดนมาร์ค พลังลม = > 17% ของไฟฟ้ารวม หากลมมีราคา 1.65บาท/kWh ในประเทศไทย: 6 บาท/kWh (?) อัตรารับซื้อ: = 5.8 บาท/kWh 1 MW = 35,000,000 บาท Wind energy potential from Thai Ministry of Energy. Cost internationally – US 5 cents/kWh
9
22,586 MW = ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในปี 2550
กำลังการผลิตติดตั้งจากพลังงานลมทั่วโลก 22,586 MW = ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในปี 2550 Installed in Thailand: 1 MW เป็นพลังงานที่โตเร็วเป็นอันดับ 2 ของโลก ขยายตัว 28% ต่อปี (นำโดยประเทศเยอรมนี รวมมีกำลังผลิตกว่า 18,000 MW ณ ปี 2548
10
กังหันลมที่ผลิตโดยคนไทย
กังหันลมขนาดเล็ก 8,200 บาท 17.7 บาท/kWh กังหันลมที่ผลิตโดยคนไทย
11
ไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก
Micro-hydropower harnesses energy from falling water. Typically some water is diverted from a stream using a weir. Water is then transported by a channel or pipes to a powerhouse downstream where the pressurized water spins a turbine, generating electricity. Source: Inversin, A. R. (1986). Micro-Hydropower Sourcebook.
12
ประเภทเทคโนโลยี Centrifugal pump Pelton Turgo Crossflow Kaplan
There are many different types of turbines, and their use depends on the height drop and flow at the site. For small projects, it is also possible to use a centrifugal pump running backwards. Installed cost is roughly baht 30,000 to 100,000 per kW.
13
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน + ชุมชน 40 kW ลงทุน 4 ล้านบาท
ศักยภาพในไทย: หลายพันโครงการ MW (?) Micro-hydropower is suitable for both grid-connected and off-grid electricity. This 40 kW installation in Mae Kam Pong village in Chiang Mai province is producing electricity that is providing electricity to the Provincial Electricity Authority (PEA). Eventually revenues from electricity sales will go to the village micro-hydropower cooperative. The project produces about 400,000 baht per year worth of electricity. แม่กำปอง, เชียงใหม่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน + ชุมชน 40 kW ลงทุน 4 ล้านบาท ขายไฟฟ้าให้ กฟภ. 400,000 บาท/ปี VSPP: บาท/kWh
14
พลังงานน้ำขนาดเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบไฟฟ้า
กังหัน 10 kW ลงทุน: 300,000 บาท (ขึ้นอยู่กับพื้นที่) Micro-hydro VSPP: บาท/kWh รายได้ต่อปี: 136,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน: 3.8 ปี ผลตอบแทนการลงทุน : 31%
15
ฝาย: สูง 2 เมตร, กว้าง 15 เมตร ความสูงต่างระดับ: 55 เมตร
แม่กำปอง, เชียงใหม่ 2 หน่วย หน่วยละ 20 kW ฝาย: สูง 2 เมตร, กว้าง 15 เมตร ความสูงต่างระดับ: 55 เมตร จำนวนครัวเรือน: 190 ลงทุน: 3.99 ล้านบาท ก่อสร้างเมื่อปี: 2526 This installation in Mae Kam Pong is not connected to the national grid. It provides electricity directly to about 190 village households. This installation is one of 60 built as a joint project between villagers and the DEDE. 20 kW (one pelton, one crossflow) Weir: 2 meters high, 15 meters wide Headrace: 300 mm concrete, 470 meters long Penstock: 300 mm steel, 100 meters long Head: 55 meters Max flow: 120 liters/sec Distribution system: 12 km Transmission voltage: 3.5 kV 190 households 3.99 million baht. Finished in year 2526 (1983). 99,725 baht per kW
16
หลายหมื่นโครงการ >10 MW (?)
ศักยภาพในไทย: หลายหมื่นโครงการ >10 MW (?) ห้วยกระทิง, จังหวัดตาก กำลังการผลิต: 3 kW ความสูงต่างระดับ: 35 เมตร อัตราการไหล: 20 ลิตร/วินาที การลงทุน: <200,000 บาท (กังหัน - 24,500 บาท) สร้างเมื่อ: 2548 (2005) This is a much smaller installation – a 3 kW installation that uses a centrifugal pump running backwards as a turbine. The installation is at Huai Kra Thing village, Mae Ramat Amphur, in Tak Province. The pump’s motor is run backwards as a generator. This kind of installation requires some custom electronics, but works quite well. An advantage is that repairs to pumps are easy – Thai mechanics are familiar with pumps. Huai Krating, Tak Province, Thailand Power: 3 kW Head: 35 meter Flow: 20 liters/second Cost: 200,000 baht
17
ขนาด 1 kW สำหรับโรงเรียน คลีนิคและโบสถ์ (กังหัน ไม่เกิน 6,000 บาท)
หมู่บ้านเกรคี, จ.ตาก ขนาด 1 kW สำหรับโรงเรียน คลีนิคและโบสถ์ (กังหัน ไม่เกิน 6,000 บาท) ความสูงต่างระดับ: 10 เมตร อัตราการไหล: 15 ลิตร/วินาที This is an even smaller installation – generating about 1 kW for a school, clinic, and community center in Kre Khi village, Tha Song Yang amphur, Tak Province. It uses a Chinese turgo, which is available for about 10,000 baht. It uses about 15 liters/second of water, and has a head of about 10 meters.
18
แม่กลางหลวง, เชียงใหม่ 200 วัตต์ 5,000 บาท (กังหัน: 3,000 บาท)
ติดตั้งเมื่อ: 2550 ความสูงต่างระดับ: 1.7 เมตร This tiny installation generates 200 watts, and powers lights in a youth training center in Baan Klang Luang village, Doi Inthanon, Chiang Mai. The turbine, purchased from Vietnam, cost 4,000 baht. It is powered by water falling about 1.7 meters. 3000 baht in Vietnam 2000 baht in Laos 200 watt
19
ขอบคุณ ข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาต่อติด chris@palangthai.org
presentation นี้ สามารถดาวน์โหลดได้ที่:
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.