งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำมาตรฐานข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำมาตรฐานข้อมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำมาตรฐานข้อมูล
Asst.Prof. Intiraporn Mulasastra Faculty of Engineering, Kasetsart University

2 เนื้อหา นิยามมาตรฐานข้อมูล ระดับของมาตรฐาน ประเภทของมาตรฐาน
องค์ประกอบของการจัดทำมาตรฐานข้อมูลระดับชาติ การจดทะเบียนมาตรฐานข้อมูล

3 มาตรฐานข้อมูลคืออะไร
กฎเกณฑ์และแนวทางในการกำหนดรูปแบบและการนิยามข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์จัดทำขึ้นจากการเห็นพ้องต้องกัน และได้รับความเห็นชอบจากองค์กรอันเป็นที่ยอมรับ

4 ตย.การนิยามข้อมูล แตกต่าง หน่วยงาน A หน่วยงาน B หมายเลข ชื่อ นามสกุล
ที่อยู่ จังหวัด 1101 สมชาย ไทยแท้ 111/5 ถ.ตก 01 1102 สมหญิง จริงใจ 25 ถ.วิภาวดี 03 แตกต่าง หน่วยงาน B หมายเลข ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ 1101 สมชาย ไทยแท้ 111/5 ถ.ตก จ.กรุงเทพ 1102 สมหญิง จริงใจ 25 ถ.วิภาวดี จ.ปทุมธานี

5 ระดับของมาตรฐานข้อมูล
มาตรฐานข้อมูลระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดทำมาตรฐาน (ISO) มาตรฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อตกลงร่วมกันของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในชาติ หน่วยงานมาตรฐานของชาตินั้น ๆ เป็นศูนย์กลาง มาตรฐานข้อมูลระดับกลุ่ม เป็นมาตรฐานที่กำหนดขึ้นจากกลุ่มหน่วยงาน

6 ประเภทของมาตรฐานข้อมูล
1.มาตรฐานรหัสข้อมูล เช่น • รหัสจังหวัด (มาตรฐานระดับประเทศ) • รหัสประเทศ Country Codes (ISO3611-1)

7 2.ชุดข้อมูลมาตรฐาน วันที่เกิด ชื่อ เพศ สาขาวิชา ปีที่เข้าศึกษา
Univ: Person บุคคล วันที่เกิด ชื่อ Edu: Student นักศึกษา เพศ สาขาวิชา U: Person บุคคล ปีที่เข้าศึกษา

8 มาตรฐานรูปแบบเอกสาร สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ตัวอย่าง รูปแบบเอกสารสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลบุคคล เลขบัตรประชาชน ……………………………. คำนำหน้าชื่อ ………………………………. ชื่อ ………………………………. นามสกุล ……………………………… รหัสสมาชิก ……………………………… เลขที่บ้าน ……………………………… เลขทะเบียนบ้าน ………………………………

9 โครงสร้างข้อมูลบุคคลที่ทำการแลกเปลี่ยน
<?xml version="1.0" encoding="utf-8" ?> <xs:schema xmlns:xs=” attributeFormDefault =”Unqualified” elementFormDefault=”qualified” targetNameSpace=”urn:th:go:deptmember:1” xmlns=”urn:th:go:deptmember:1” version=”1.0”> <xs:element name="Person" type ="PersonType"> <xs:complexType name="PersonType"> <xs:sequence> <xs:element name="CitizenID" type="xs:Long" /> <xs:element name="MemberID" type="xs:Long" /> <xs:element name="PrefixID" type="xs: String " /> <xs:element name="FirstName" type="xs:String" /> <xs:element name="LastName" type="xs: String " /> <xs:element name="HomeID" type="xs:Long" /> <xs:element name="HomeRegisterID" type="xs:Long" /> <xs:element name="HealthCareID" type="xs:Long" /> </xs:sequence> </xs:complexType> </xs: element > </xs:schema>

10 มาตรฐานคำอธิบายข้อมูล (Meta Data Standard)
Name SURNAME (นามสกุล) Definition That part of a person’s name which is used to describe family, clan, tribal group, or marital association Business Format Max 35 characters (สูงสุด 35 ตัวอักษร) Validation Consecutive spaces are not allowed Owner OeE Based on BSEN 7372:1993 Version 0.4 draft

11 องค์ประกอบของ การจัดทำมาตรฐานข้อมูลระดับชาติ
หน่วยงานกำกับดูแลมาตรฐานข้อมูล มาตรฐานข้อมูลกลาง (Universal Core Set) กฎเกณฑ์ในการสร้างข้อมูลให้สอดคล้องตามมาตรฐาน กลุ่มคนที่ใช้สารสนเทศร่วมกัน (Community of Interest) เครื่องมือสนับสนุนการลงทะเบียน มาตรฐานข้อมูล

12 หน่วยงานกำกับดูแลมาตรฐานข้อมูล
พัฒนาระบบสนับสนุนการจดทะเบียนและสร้างมาตรฐานข้อมูล จดทะเบียนมาตรฐานข้อมูล อบรมให้ความรู้ด้านมาตรฐานข้อมูลแก่หน่วยงานภาครัฐ ประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของมาตรฐานข้อมูล ปรับปรุงมาตรฐานข้อมูลให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง

13 มาตรฐานข้อมูลกลาง Universal Core Set
มาตรฐานกลาง ใช้ร่วมกันทุกโดเมน สาธารณสุข สาธารณสุข สาธารณสุข บรรเทาสาธารณภัย การศึกษา ข้อมูลร่วม การเกษตร ความมั่นคง การค้าระหว่างปท. การศึกษา การเงิน การท่องเที่ยว

14 มาตรฐานข้อมูลกลาง (Universal Core Set) UK e-GIF
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ อีเมล์ URL หน่วยนับจำนวนเงิน ปีภาษี ปีงบประมาณ รหัส ข้อมูลขององค์กร ข้อมูลบุคคล อื่นๆ ความสพ.ระหว่างบุคคล วันที่ เวลา ก่อนการเริ่มต้นรับจดทะเบียนมาตรฐานข้อมูลใหม่ ในฐานข้อมูลทะเบียนมาตรฐานข้อมูลควรจะต้องมีมาตรฐานข้อมูลกลาง[1] ที่ใช้ร่วมกันได้ในทุกบริบทของโดเมน เพื่อเป็นมาตรฐานตั้งต้นให้หน่วยงานต่างๆ ใช้อ้างอิงเพื่อพัฒนามาตรฐานใหม่ตามบริบทต่างๆ [1] NIEM , UK e-GIF, Greece e-GIF ต่างก็มีการกำหนด Universal Core Set

15 มาตรฐานข้อมูลบุคคล UK e-GIF กำหนดไว้ดังนี้
Person Birth Date วันที่เกิด Person Death Date วันที่ตาย Person Ethnicity เชื้อชาติ Person Marital Status สถานภาพการสมรส S = Single M = Married D = Divorced W = Widowed N = Not disclosed P = Separated Person Name ชื่อ Person Place of Birth สถานที่เกิด Person Religion ศาสนา Person Sex เพศ

16 มาตรฐานที่อยู่อาศัย UK Address Standard
BS7666 Address ที่อยู่ Basic land and Property Unit เลขที่ (0..1) Primary Addressable Object Name ชื่อที่อยู่หลัก (1) Secondary Addressable Object Name ชื่อที่อยู่รอง (0..1) Unique Property Reference Number รหัสที่อยู่ (0..1) Street Descriptive Identifier Structure ชื่อถนน (0..1) Unique Street Reference Number รหัสถนน(0..1) Postcode รหัสไปรษณีย์ (0..1) หมายเหตุ (0..1) คือจำนวนข้อมูล 0 ถึง 1 จำนวน คือมีหรือไม่มีก็ได้ , (1) คือจำนวน 1 หมายถึง ต้องมี ต้องมีอันใดอันหนึ่ง

17 ข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน ข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการทำธุรกรรมทั่วไป Universal
เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับคน สถานที่ วัตถุต่างๆ เหตุการณ์ Universal ใช้ร่วมกันในทุกๆกลุ่ม(โดเมน) เช่น คน ที่อยู่ องค์กร Common ใช้ร่วมกันมากกว่า 1 กลุ่ม(โดเมน) ประเภทรถยนต์ Domain Specific จัดการโดยกลุ่มที่มีความสนใจร่วมกัน กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ประเภทการลงทุน

18 กฎเกณฑ์ในการสร้างข้อมูลให้สอดคล้องตามมาตรฐาน

19 กลุ่มคนที่ใช้สารสนเทศร่วมกัน (Community of Interest)
เป็นกลุ่มคนที่ผลักดันการสร้างมาตรฐานข้อมูลร่วมเนื่องจากความต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูล มาจากโดเมนเดียวกัน เช่น แพทย์ในโรงพยาบาลต่างๆ จำเป็นต้องแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการส่งต่อผู้ป่วย มาจากคนละโดเมน เช่น แพทย์ที่ทำวิจัยเรื่องโรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องใช้ข้อมูลพื้นที่ปลูกยางพาราเนื่องจากเป็นแหล่งชุกชุมของยุงลาย

20 เครื่องมือสนับสนุนการลงทะเบียนมาตรฐานข้อมูล
ระบบจำลองแบบข้อมูลของเอกสาร / XML tools ระบบลงทะเบียน ชุดข้อมูลร่วม รหัสข้อมูล เอกสารร่วม เว็บเซอร์วิส รายละเอียด การบริการ หน่วยงาน ราชการ & IS ระบบจัดการฐานข้อมูล

21 โครงสร้างคณะทำงานมาตรฐานข้อมูล

22 ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับคณะทำงาน
การสร้างแบบจำลองข้อมูล (Data Modeling) ออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูล Entity Relationship Diagram (ER Diagram) UML Class Diagram การจำลองกระบวนการทำงานโดยใช้ UML Tools มาตรฐานข้อมูล ระดับประเทศไทย และระหว่างประเทศ /นานาชาติ กระบวนการจัดทำมาตรฐานข้อมูล กฎหมาย ระเบียบ และความพร้อมของแต่ละหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ

23 วงจรชีวิตการพัฒนารายการมาตรฐานข้อมูลร่วม

24 ขั้นตอนที่ 1. การจัดทำทัศนภาพธุรกิจ (ในอนาคต)
การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในอนาคตจะมีผลกระทบต่อองค์กรอย่างไร การกำหนดขอบเขต ช่วงเวลาและเรื่องที่จะพิจารณา การระบุผู้ที่เกี่ยวข้องหลัก ในเรื่องหรือขอบเขตที่กำหนด การระบุแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน เช่น สภาพเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี กฎหมาย การเมือง สภาวะอากาศ ซึ่งมีผลกระทบต่อเรื่องที่จะศึกษา ระบุสถานการณ์หลักที่มีความไม่แน่นอน พิจารณาจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน และ สถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอน พิจารณาแยกเป็น 2 สถานการณ์ คือ สถานการณ์ที่มีผลกระทบเชิงบวกต่อองค์กร และสถานการณ์ที่มีผลกระทบเชิงลบต่อองค์กร โดย สถานการณ์เชิงลบอาจก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่เพื่อวางแผนรับมือกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้ หรือ พิจารณาจากระดับความสำคัญของสถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนในอันดับต้นๆ หากสามารถจัดลำดับ ความสำคัญของสถานการณ์ที่ความไม่แน่นอนเหล่านั้นได้

25 การวางแผนรับมือกับสถานการณ์
แผนดำเนินการ ขั้นตอนการดำเนินการ ข้อมูลและสารสนเทศที่ต้องใช้ แหล่งที่มาของข้อมูล อาจมาจากหลายหน่วยงาน ทั้งจากภายในกระทรวงเดียวกัน หรือต่างกระทรวง

26 การเลือกทัศนภาพในปัจจุบัน
การเลือกสถานการณ์ในปัจจุบันที่ต้องการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานนั้น อาจพิจารณาจาก แผนแม่บท แผนยุทธศาสตร์ วาระแห่งชาติต่างๆ ภารกิจหลักของหน่วยงาน เช่น การให้บริการประชาชน แก้ไขปัญหาของประเทศชาติ

27 Innovative Service การตรวจสอบความเหมาะสมของสถานที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม
เพื่อออกใบอนุญาตตั้งโรงงาน ต้องการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์ ของโรงเรียน ชุมชน สถานพยาบาล ศาสนสถาน และแหล่งน้ำ ในบริเวณใกล้เคียง ทำให้การตรวจสอบสะดวกรวดเร็วขึ้น และลดค่าใช้จ่ายลง การตรวจสอบสถานภาพบุคคล เช่น การตรวจสอบการจบการศึกษาของนักเรียนเมื่อเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัย การขอรับเงินชดเชยจากการเสียชีวิตของแรงงานที่ต้องทำการขอมรณะบัตรจากโรงพยาบาลเพื่อแจ้งแรงงานเขต และ สนง ประกันสังคมในพื้นที่

28 ตัวอย่าง การจัดทำทัศนภาพธุรกิจเรื่องมลพิษ

29 การทำความเข้าใจกระบวนการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล

30

31 ขั้นตอนที่ 2. การวิเคราะห์ความต้องการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูล
Data Process วางแผน จัดหา จัดเก็บ จัดการ ใช้งาน ดูแล People Technology

32

33 ขั้นตอนที่ 2. การวิเคราะห์ความต้องการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูล (ต่อ)
สถานที่และระยะเวลา การพิจารณาสถานที่ที่เหมาะสมในการในการจัดตั้งระบบ และการกำหนดเวลาของการให้บริการข้อมูล ปัจจัยที่ต้องพิจารณาหลายอย่างด้วยกัน เช่น ค่าใช้จ่าย การบำรุงรักษา ความยากง่ายในการเข้าถึงข้อมูล องค์ประกอบทั่วไป ความต้องการ/ข้อบังคับ : ระเบียบทางราชการ กฎหมาย การสื่อสาร วัฒนธรรมและสภาวะแวดล้อม

34 ตัวอย่าง

35 ทำความเข้าใจข้อมูลและ คุณลักษณะของข้อมูล

36 บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้อง
วางแผน จัดหา จัดเก็บ จัดการ ใช้งาน ดูแล

37 ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดมาตรฐาน และลดความซ้ำซ้อนรายการข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดมาตรฐาน และลดความซ้ำซ้อนรายการข้อมูล วิธีการสร้างความสอดคล้อง และลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลในเอกสารที่จะแลกเปลี่ยน

38

39 วิธีการสร้างความสอดคล้อง และลดความซ้ำซ้อนรายการข้อมูล (Data Simplification, Harmonization)
ตั้งชื่อข้อมูลที่เรียกใช้ในบริบทที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ยังไม่ใช่ชื่อที่เป็นมาตรฐานตามทะเบียนมาตรฐานข้อมูล 1 การรวบรวมชื่อรายการข้อมูล 2 การนิยามชื่อรายการข้อมูล คำอธิบายรายการข้อมูล ลักษณะของข้อมูล และการใช้รหัสข้อมูล 3 การวิเคราะห์ชื่อรายการข้อมูล เปรียบเทียบชื่อและความหมาย ตั้งชื่อที่เป็นมาตรฐาน ตามนี้ นำชื่อรายการข้อมูล คำอธิบายความหมาย และ ที่มาของชื่อรายการข้อมูลนั้นๆ ไว้ในตารางเดียวกัน ระบุรายการข้อมูลที่ชื่อต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกัน และรายการข้อมูลที่ชื่อเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน

40 วิธีการสร้างความสอดคล้อง และลดความซ้ำซ้อนรายการข้อมูล (Data Simplification, Harmonization)
4 การกำหนด “ชื่อรายการข้อมูล” ที่ไม่ซ้ำซ้อน หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาข้อสรุปในการกำหนด “ชื่อรายการข้อมูล” ในกรณี รายการข้อมูลที่มีชื่อเรียกต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกัน รายการข้อมูลที่มีชื่อเรียกเหมือนกันแต่มีความหมายไม่เหมือนกัน 5 สรุป “นิยามความหมาย” ของชื่อรายการข้อมูลให้ทุกหน่วยงานเข้าใจในเชิงความหมายตรงกัน

41

42

43 การจำลองแบบข้อมูลของเอกสารตามมาตรฐาน (Data Modeling and Standardization)
ข้อมูลประกอบด้วย ตัวข้อมูล (Entity) คุณสมบัติเฉพาะ (Attribute) ชนิดข้อมูล (Data Type) ความสัมพันธ์ของข้อมูล (Entity Relationship) ดังในทฤษฎีฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

44 มาตรฐาน CCTS Core Components Technical Specification
TH e-GIF เสนอให้ใช้ หลักการเพื่อสร้างแบบจำลองข้อมูลเชิงความหมาย(Semantic Data Model) เพื่ออำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน แบบจำลองข้อมูล CCTS สามารถถูกแปลงไปเป็นโครงสร้างข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เชิงวัตถุ หรือ เอกสาร XML ก็ได้ (Syntax-Independent) CCTS มีมาตรฐานกลางเรียกว่า CCL : Core Components Library สำหรับให้ประยุกต์ใช้ในการสร้างมาตรฐานข้อมูลในบริบทต่างๆ ด้วย

45 หลักการพื้นฐานของการจำลองแบบข้อมูล (Basic Data Modeling Concepts)
ชุดข้อมูล (Components) ประกอบด้วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวข้องกัน เช่น ชุดข้อมูลบุคคลประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล วันเกิด ของบุคคลคนหนึ่ง เป็นต้น ชุดข้อมูลร่วม (Core Components) เป็นชุดข้อมูลที่สามารถใช้ได้ในหลายบริบท ชุดข้อมูลบุคคล ประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล วันที่เกิด สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นข้อมูลเกษตรกร หรือนักศึกษา ก็ได้ เพราะเกษตรกรและนักศึกษาต่างมีข้อมูล ชื่อ นามสกุล วันที่เกิด

46 CCTS CCTS ได้กำหนดโมเดลสำหรับสร้างแบบจำลองข้อมูลเช่น ER Model
เน้นแบบจำลองเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นมาตรฐานระหว่างหน่วยงาน สามารถอธิบายโมเดลด้วย descriptive language ชุดข้อมูลร่วมที่ประกาศเป็นมาตรฐานสามารถนำกลับมาประยุกต์ใช้ในบริบทต่างๆ โมเดลชุดข้อมูลร่วมที่ CCTS กำหนดเน้นที่ความหมาย (semantics) ของชื่อข้อมูลและชนิดข้อมูล ไม่ยึดติดกับ syntax ของแบบจำลองข้อมูล เพื่อให้สามารถนำไปแปลงเป็นแบบจำลองข้อมูล ชนิดใดก็ได้ เช่น relational model, object oriented model, XML เป็นต้น

47 โครงสร้างของการจำลองแบบมาตรฐานข้อมูล CCTS
โครงสร้างของการจำลองแบบมาตรฐานข้อมูลดังแสดงในรูปแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลักดังนี้ 1. Core Component Level 2. Business Information Entities Level 3. XML Schema Level 4. Code List

48 Basic Data Modeling Concepts
สูจิบัตร XML Schemas Level บัตรประจำตัวประชาชน ประชาชน ทหาร คนไข้ Business Information เกษตรกร Entities Level ที่อยู่ของเกษตรกร ผู้ชำระภาษี ชนิดข้อมูลที่ไม่มีบริบท Core Component Level บุคคล ที่อยู่ เอกสาร องค์กร ระยะเวลา การชำระเงิน ชนิดข้อมูลที่มีบริบท (Qualified Data Types) ใบอนุญาตก่อตั้งบริษัท ทะเบียนเกษตรกร ใบยื่นชำระภาษี ประวัติอาชญากร ใบส่งต่อผู้ป่วย ตารางรหัส(Code List) รหัสจังหวัด รหัสประเทศ รหัสหน่วยนับ รหัสเงินตรา ฯลฯ

49 โครงสร้างของการจำลองแบบมาตรฐานข้อมูล CCTS
Core Components Level เป็นส่วนในสุด ซึ่งประกอบด้วยมาตรฐานข้อมูลกลางที่ใช้ได้ในทุกบริบท(Unqualified Data Types) สำหรับเป็นแกนกลาง เพื่อประยุกต์ใช้หรือขยายเพิ่มเติมในบริบทต่างๆ เช่นมาตรฐานข้อมูลบุคคล Business Information Entities Level เป็นมาตรฐานที่ระบุบริบทของการใช้งานโดยสร้างมาจากมาตรฐานกลาง เช่น มาตรฐานข้อมูลเกษตรกรจะอยู่ในส่วนนี้เป็นมาตรฐานข้อมูลชนิด Qualified Data Types คือสามารถกำหนดขอบเขตและชนิดข้อมูลเฉพาะเจาะจง เพื่อใช้ในแต่ละบริบทได้ XML Schemas Level เป็นมาตรฐานของเอกสารข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ XML แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เว็บเซอร์วิส เช่น ใบส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล สามารถนำมาลงทะเบียนเป็นเอกสารร่วมเพื่อให้หน่วยงานอื่นๆ ที่สนใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ เป็นการส่งเสริมการใช้มาตรฐานข้อมูลร่วมกัน  Code List เป็นส่วนมาตรฐานรหัสข้อมูลสามารถใช้ได้ในทุกบริบท

50 Core Components Model Basic Core Components (BCC) ชนิดข้อมูลร่วมแบบพื้นฐาน Aggregate Core Components (ACC) ชนิดข้อมูลร่วมแบบมีส่วนประกอบย่อย Associate Core Components (ASCC) ชนิดข้อมูลร่วมสำหรับแสดงความสัมพันธ์ BCC จะมีการระบุชนิดข้อมูล (Core Data Types) ซึ่งกำหนดค่าข้อมูลที่เป็นไปได้ โมเดลของชุดข้อมูลร่วมมีส่วนประกอบ3 ประเภทดังนี้

51 การเปรียบเทียบ CCTS Core Component Model กับ Model อื่นๆ

52 Core Components Model Data Structure Data Type

53 Aggregate Core Components ของ CCTS
• Person, Employee, Driver, Patient • Payment • Document , Contract, Business profile • Period • Building, Address • Crop Show CCTS file

54 ตัวอย่าง 8 ส่วนประกอบของ Aggregate Core Component ชื่อ Person
1 2 3 4 5 6 7 8 หมายเหตุ Aggregate Core Component ชื่อ Person มีส่วนประกอบที่เป็น Basic Core Components มากกว่าที่ แสดงในตารางนี้ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้เพียงบางส่วนได้ตามความต้องการ

55 ตัวอย่างการอ้างอิง Basic Core Component ของ Person
Person.Given Name.Text ObjectClass.PropertyTerm.RepTerm เอนติตี้ แอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล

56 ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ของข้อมูล Association Core Components ของ Person

57 ความสัมพันธ์ระหว่าง Person และ Address
Person.Details ประกอบด้วย Basic core components • Person.Identification.Identifier • Person.Given Name.Text Address.Details ประกอบด้วย • Address.Line One.Text • Address.Line Two.Text • Address.City Name.Text • Address.Postal Code.Code Association Core Component • Person.Residence.Address

58 ตัวอย่าง Core Data Types

59 การสร้างมาตรฐานข้อมูลในบริบทเฉพาะ

60 ความสัมพันธ์ระหว่าง BIEs และ Core Components Library
• BIEs สามารถสร้างมาจาก CCs ด้วยวิธีการใช้ Qualifiers ระบุบริบท • ส่วนประกอบของ BIEs สามารถนำกลับมาประยุกต์ใช้ได้อีกในบริบทของตนเอง หรือบริบทอื่นๆ ก็ได้ • BIEs สามารถมีส่วนประกอบของข้อมูลไปจนถึงระดับข้อมูลที่ต้องการแลกเปลี่ยน • BIEs สามารถประยุกต์ชนิดข้อมูลร่วมเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทที่ใช้งานได้ • BIEs Model สามารถสร้างเพื่อใช้ในระดับสากล ระดับรัฐบาล หรือระดับหน่วยงานก็ได้

61 การใช้ Qualifiers เพื่อระบุบริบทเฉพาะของข้อมูล
การระบุชื่อของข้อมูล 3 ส่วน ObjectClass.PropertyTerm.RepTerm ไม่พอเพียงต่อการประยุกต์ใช้ในหลากหลายบริบท Qualifiers ระบุชื่อบริบทข้างหน้า Object Class ทำให้ object class เดียวกันสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในหลายบริบทโดยมีโครงสร้างที่ต่างกันได้ เช่น Person เมื่อใช้ในบริบทการเกษตร อาจเป็น เกษตรกร ใช้ในบริบทการศึกษาอาจเป็น Student ทั้ง เกษตรกร และนักเรียนอาจมีโครงสร้างที่ต่างกันได้

62 ตัวอย่างการใช้ Qualifiers เพื่อระบุบริบท
• Agriculture_Person.Given Name.Text • Education_Person.Given Name.Text • Agriculture เป็นบริบทที่กำกับข้างหน้า Person เพื่อให้แตกต่างจาก Education_Person.Given Name.Text

63 การระบุบริบท การระบุบริบทสามารถทำได้ 2 ตำแหน่งคือ
• บริบทของ Object Class • บริบทของ Property การอ้างอิงข้อมูลตามปกติ ObjectClass.PropertyTerm.RepTerm บริบท(Qualifier)สามารถระบุได้ทั้ง 2 ตำแหน่ง หรือเลือกระบุเพียงที่เดียวก็ได้ Qualifier_ObjectClass.Qualifier_PropertyTerm.RepTerm

64 การใช้ Qualifiers เพื่อระบุบริบทเฉพาะของชนิดข้อมูล (Qualified Data Type)
ชนิดข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนค่าของข้อมูล (Content) เช่น จำนวนเต็ม ส่วนเงื่อนไขข้อจำกัดของค่าข้อมูล เช่น ค่าสูงสุด ต่ำสุดของข้อมูล หรือ ค่าข้อมูลที่มีให้เลือก เป็นต้น ตัวอย่าง Thai_Adress.Details ประกอบด้วย • Thai_Adress.Street.Name • Thai_Adress.CountrySubDivision.ThaiPart_Identifier มีการใส่บริบท ThaiPart_ นำหน้าชนิดข้อมูล Identifier เพื่อระบุชนิดข้อมูลที่เฉพาะเจาะจง ค่าที่เป็นไปได้ของรหัสภาค เช่น 1-5 เป็นต้น

65 การใช้ Qualifiers เพื่อระบุบริบทเฉพาะของชนิดข้อมูล

66 การกำหนดชื่อรายการข้อมูลตามมาตรฐาน

67 การกำหนดชื่อรายการข้อมูลตามมาตรฐาน (ต่อ)

68 การสร้างแบบจำลองข้อมูลและ การกำหนดชื่อรายการข้อมูลตามมาตรฐาน CCTS

69 หมายเหตุ อ้างอิง CCTS Core Component Library และประยุกต์โดยใส่บริบทประเทศไทย


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำมาตรฐานข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google