ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อินเทอร์เน็ต (Internet)
2
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่า Inter Connection Network คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ เครือข่ายที่เชื่อมต่อถึงกันทั่วโลก กลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ สื่อสารกันได้ด้วยภาษามาตรฐาน เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล บนอินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP
3
อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นได้อย่างไร
ริเริ่มโดยหน่วยงานวิจัยชั้นสูง ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ที่เรียกว่า อาร์ปาเน็ต (ARPANET) สร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการติดต่อสื่อสาร ได้รับความนิยมและพัฒนาเรื่อยมา ทั้งหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน
4
พ.ศ.2530โดย ม.สงขลานครินทร์และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT)
พ.ศ.2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ต่อเชื่อมเข้ากับเครือข่าย UUNET ของบริษัทเอกชนในรัฐเวอร์จิเนีย ต่อมาจึงมีการเชื่อมต่อของมหาวิทยาลัยหลายแห่งมีชื่อเครือข่ายว่า ไทยเน็ต (THAInet) NECTEC ได้จัดตั้งเครือข่ายที่เรียกว่าไทยสาร (THAISARN) ภาคเอกชนได้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP:Internet Service Provider)
5
โครงสร้างพื้นฐานและองค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ขอใช้บริการ ให้บริการ
6
อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญอย่างไร
เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพทางด้านความรู้ ความคิด เป็นแหล่งค้นคว้าแลกเปลี่ยนความรู้ อำนวยความสะดวก ในกิจกรรมต่าง ๆ การเผยแพร่ความรู้ โฆษณา ประชาสัมพันธ์
7
การบริการในอินเทอร์เน็ต
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( ) การเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทางไกล (Remote Login) การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (FTP: File Transfer Protocol) กลุ่มข่าว (Usenet) การสนทนาบนเครือข่าย (Talk/Chat) การค้นหาข้อมูลและไฟล์ข้อมูล (Gopher/Archie) เวิลด์ไวด์เว็บ (WWW : World Wide Web)
8
การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดย ผู้ส่งจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับ ( Address) โปรแกรมที่ใช้ ในการรับ-ส่งจดหมายอิเลคทรอนิคส์ เช่น Eudora, Pine, Netscape Mail, Microsoft Explorer และอื่น ๆ
10
Remote Login เข้าไปใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อื่นที่อยู่ห่างไกล
เพื่อใช้บริการและข้อมูลของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของระบบอื่น โดยใช้โปรแกรม Telnet ผู้ใช้ต้องทราบ IP address, Login, Password
12
FTP การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลหรือโปรแกรมจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในอินเทอร์เน็ต download => การถ่ายโอนข้อมูลจากเครื่องให้บริการมายังเครื่องที่ใช้บริการ upload => การถ่ายโอนข้อมูลจากเครื่องที่ใช้บริการไปเก็บไว้ที่ เครื่องให้บริการ โปรแกรมที่จะช่วยในการโอนย้ายข้อมูล ก็เช่น Netscape, Telnet WSFTP เป็นต้น
15
โปรแกรม Telnet WSFTP
16
UseNet เป็นการให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสาร แสดงความคิดเห็นใน เรื่องราวและประเด็นต่างๆ ตามความชอบและความสนใจร่วมกัน ข่าวจะจัดเป็นกลุ่มๆ ไว้ เช่น สังคม การเมือง บันเทิง
21
Talk/Chat เป็นการสื่อสารด้วยการส่งข้อความตอบโต้กันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งแบบเป็นกลุ่มสนทนา และแบบตัวต่อตัว ปัจจุบันพัฒนาระบบมากขึ้นสามารถโต้ตอบกันได้ด้วยเสียงพูดและเห็น ภาพคู่สนทนา เช่น ICQ, Pirch, MSN messager, Yahoo messager, Netmeeting
22
Netmeeting icq
23
Gopher/Archie บริการค้นหาข้อมูลและแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ
มีเครื่องบริการที่จัดเตรียมข้อมูลที่แบ่งเป็นหมวดหมู่และ ทางเลือกให้เลือกค้นหาข้อมูล โดยไม่ต้องทราบหมายเลขไอพีของเครื่องที่ให้บริการ Archie อาร์ชี เป็นระบบการค้นหาแฟ้มข้อมูลที่พัฒนาขึ้นโดยนักศึกษาและผู้เชี่ยวชาญระบบเครือข่ายจากมหาวิทยาลัย McGill ประเทศแคนาดา อาร์ซีจะเป็นบริการสำหรับช่วยผู้ใช้ที่ทราบชื่อแฟ้มข้อมูลแต่ไม่ทราบว่าจะหาได้จากที่ใด เครื่องบริการอาร์ซีที่กระจายอยู่ทั่วโลกจะมีฐานข้อมูลชื่อแฟ้มต่างๆจากเครื่องที่มีบริการขนถ่ายข้อมูล ftp สาธารณะ (ใช้ user แบบ anonymous ได้) เสมือนกับเป็นบรรณารักษ์ที่มีรายชื่อของหนังสือทั้งหมดที่อยู่ในห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้จะได้รับแฟ้มข้อมูลที่ต้องการด้วยการใช้บริการ ftp ในการขนถ่ายข้อมูลตามตำแหน่งที่อาร์ชีแจ้งให้ทราบ Gopher โกเฟอร์ เป็นโปรแกรมประยุกต์แบบไคลแอนต์-เซิร์ฟเวอร์ที่พัฒนาขึ้นมาโดยมหาวิทยาลัย Minesota เพื่อช่วยให้สามารถค้นหาข้อมูลตามลำดับชั้น ฐานข้อมูลของระบบโกเฟอร์จะกระจายอยู่ทั่วโลก และมีการเชื่อมโยงกันอยู่ผ่านระบบเมนูของโกเฟอร์เอง การใช้โกเฟอร์เปรียบได้กับการเปิดเลือกรายการหนังสือในห้องสมุดที่จัดไว้เป็นหมวดหมู่ตามหัวข้อเรื่องซึ่งผู้ใช้สามารถค้นเรื่องที่ต้องการตามหัวข้อต่างๆ ที่แบ่งไว้ และเมื่อเลือกหัวข้อแล้ว ก็จะปรากฏหัวข้อย่อยๆ ให้สามารถเลือกลึกลงไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบเรื่องที่ต้องการ
24
WWW WWW จะเป็นบริการค้นหาและแสดงข้อมูลนี้อยู่ในรูป Multimedia คือ มีทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวีดีโอ โดยใช้หลักการของ ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) ที่สามารถเลือกเพื่อเชื่อมโยงไปยังจุดต่างๆ ที่อยู่ Web site เดียวกันหรือ Web site อื่น การสืบค้นต้องรู้ที่อยู่ของเครื่องที่เก็บสารสนเทศหรือ URL
25
ระบบชื่อในอินเทอร์เน็ต
หมายเลขไอพี (IP number) หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ในอินเทอร์เน็ต ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System: DNS) เป็นการแทนหมายเลขไอพีด้วยชื่อที่เป็นตัวอักษร รหัสยูอาร์แอล (Uniform Resource Location:URL) เป็นรหัสที่ใช้ในบริการแบบ WWW Address ที่อยู่สำหรับการรับ-ส่ง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
26
หมายเลขไอพี (IP Number)
ค่าตัวเลขในแต่ละส่วนมีค่าตั้งแต่ 0 – 255 เช่น
28
โดเมนเนม (DNS) ชื่อที่ใช้แทนหมายเลขไอพี เพื่อสะดวกในการจดจำได้ง่าย
การกำหนดโดเมนเนมจะเรียงลำดับความสำคัญของชื่อจากขวา ไปซ้าย โดยมีจุดคั่น เช่น การตั้งและใช้โดเมนเนมจะต้องไม่ซ้ำกันเลย โดยยึดหลักผู้ใดจด ทะเบียนก่อนมีสิทธิใช้ชื่อก่อน หน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลชื่อโดเมนของ InterNIC ThNIC
29
องค์ประกอบของโดเมนเนม
ชื่อโดเมน ชื่อสับโดเมน ชื่อระบบเครือข่าย ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์
30
ชื่อโดเมน หมายถึง กลุ่มหลักของคอมพิวเตอร์
ชื่อย่อประเทศ : เครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย Internet ที่ไม่ได้อยู่ในสหรัฐอเมริกา ได้แก่ au = ประเทศออสเตรเลีย (Australia) sg = ประเทศสิงคโปร์ (Singapore) th = ประเทศไทย (Thailand) tw = ประเทศไต้หวัน (Taiwan) uk = ประเทศอังกฤษ (United Kingdom)
31
ชื่อย่อประเภทขององค์กร : เครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย Internet ที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา เช่น
com = Commercial หน่วยงานทางธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน edu = Education หน่วยงานสถาบันทางการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย gov = Government หน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง ทบวง กรม org = Organization องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร mil = Military หน่วยงานด้านความมั่นคง (ทหาร) net = Network หน่วยงานที่ให้บริการด้านเครือข่ายสื่อสาร
32
ชื่อสับโดเมน (Sub-Domain)
เป็นส่วนขยายของชื่อโดเมน บอกถึงประเภทขององค์กร มีเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย Internet ที่ไม่ได้อยู่ในสหรัฐอเมริกา เช่น co = Commercial หน่วยงานทางธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน ac = Academic หน่วยงานสถาบันทางการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย go = Government หน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง ทบวง กรม or = Organization องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร mi = Military หน่วยงานด้านความมั่นคง (ทหาร) net = Network หน่วยงานที่ให้บริการด้านเครือข่ายสื่อสาร
33
ชื่อระบบเครือข่าย msu kmitl chula cmu nectec
ชื่อของเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่ เช่น msu kmitl chula cmu nectec
34
ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์
ชื่อที่กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องให้บริการ เช่น Lib1 Comp1 Comp2 Lis
35
ตัวอย่าง โดเมนเนม Lib1.msu.ac.th ชื่อโดเมน ชื่อสับโดเมน
ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อระบบเครือข่าย ชื่อสับโดเมน ชื่อโดเมน
36
ตัวอย่าง โดเมนเนม www.msu.ac.th ชื่อโดเมน ชื่อสับโดเมน
ชื่อระบบเครือข่าย ชื่อสับโดเมน ชื่อโดเมน
37
รหัสยูอาร์แอล ในบริการแบบ WWW จะใช้ รหัสสืบค้นข้อมูลที่เรียกว่า รหัสยูอาร์แอล มีส่วนประกอบ 4 ส่วนคือ ชนิดของบริการ โดเมนเนมของเครื่องที่ให้บริการ ไดเรกทอรี่ ชื่อแฟ้มข้อมูล
38
ชนิดของบริการ เวิลด์ไวด์เว็บ ใช้สัญลักษณ์ http
โกเฟอร์ ใช้สัญลักษณ์ gopher การโอนย้ายแฟ้มข้อมูล ใช้สัญลักษณ์ ftp ข่าว ใช้สัญลักษณ์ news
39
http://www.msu.ac.th/index/main.htm ชื่อแฟ้มข้อมูล ไดเรกทอรี
โดเมนเนมของเครื่องให้บริการ ไดเรกทอรี ชื่อแฟ้มข้อมูล ชนิดการบริการ
40
ตัวอย่าง URL โกเฟอร์ gopher://veronica.scs.unr.edu/11/veronica
เวิลด์ไวด์เว็บ โกเฟอร์ gopher://veronica.scs.unr.edu/11/veronica การโอนย้ายแฟ้มข้อมูล ftp://ftp.nectec.or.th/pub/pc/modem.txt ข่าว news://comp.infosystem.www
41
Address เป็นที่อยู่สำหรับการรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ มีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ชื่อผู้ใช้ (User name) โดเมนเนมของเครื่องที่ให้บริการ
42
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
โทษของอินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูล เป็นเครือข่ายสาธารณะ ควบคุมได้ยาก เป็นช่องทางการสื่อสารที่ดี เกิดการหลอกลวง เพิ่มความสามารถทางธุรกิจ ความไม่ปลอดภัยจากการทำธุรกรรม การแลกเปลี่ยนข้อมูล การลักลอบเข้าไปทำลายข้อมูล เพื่อความบันเทิง ความร้ายกาจของ Virus ความสะดวกสบายในการใช้งาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.