งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะ เกษ

2

3 สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส

4 อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ประเทศไทย และ จ.ศรีสะเกษ ปี 2554-2559
อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ประเทศไทย และ จ.ศรีสะเกษ ปี อัตราต่อแสนประชากร

5 จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ
จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ.ศรีสะเกษ และประเทศไทย ปี คน

6 จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ
จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายเดือน ปี 2559 เทียบกับค่ามัธยฐาน จำนวน(ราย)

7 Association of rainfall with occurrence of leptospirosis

8 จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จำแนกตามกลุ่มอายุ จ.ศรีสะเกษ ปี 2559
จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จำแนกตามกลุ่มอายุ จ.ศรีสะเกษ ปี 2559

9 จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ จ
จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ จ.ศรีสะเกษ ปี 2559

10 อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ปี 2559 และค่ามัธยฐาน จำแนกรายอำเภอ
อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ปี 2559 และค่ามัธยฐาน จำแนกรายอำเภอ อัตราป่วย/แสนประชากร

11 อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ปี 2559 และค่ามัธยฐาน จำแนกรายอำเภอ(ต่อ)
อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ปี 2559 และค่ามัธยฐาน จำแนกรายอำเภอ(ต่อ) อัตราป่วย/แสนประชากร

12 อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ.ศรีสะเกษ ปี 2559
ศิลาลาด บึงบูรพ์ ราษีไศล ยางชุมน้อย เมืองจันทร์ โพธิ์ศรีสุวรรณ กันทรารมย์ อุทุมพรพิสัย อัตราป่วยต่อแสน เมืองศรีสะเกษ ห้วยทับทัน วังหิน น้ำเกลี้ยง พยุห์ โนนคูณ >20 ปรางค์กู่ ศรีรัตนะ เบญจลักษ์ 15-19 ไพรบึง ขุขันธ์ 10-14 กันทรลักษ์ 5-9 ขุนหาญ ภูสิงห์ <5 อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ.ศรีสะเกษ ปี 2559

13 ความรุนแรงของโรคเลปโตสไปโรซีส เมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่มาด้วยอาการไข้

14 Acute Febrile illness : Morbidity / 105 Population

15 Acute Febrile illness : Mortality / 105 Population

16 อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ.ศรีสะเกษ ปี 2554-2559
อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรซีส จ.ศรีสะเกษ ปี

17 สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ เชื้อเลปโตสไปร่า

18 สาเหตุ มีหลายสายพันธุ์ มีทั้งสายพันธุ์ ที่ไม่ก่อโรค และสายพันธุ์ที่ก่อ โรคทั้งในคนและในสัตว์ ชอบอยู่ในความเป็นกลาง ไม่ เป็นกรดไม่เป็นด่าง อุณหภูมิที่ชอบคือ องศา เซลเซียส

19 สัตว์รังโรค อยู่ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด โดยสัตว์อาจแสดงอาการป่วย หรือไม่ก็ได้ แหล่งรังโรคที่สำคัญคือหนูชนิด ต่างๆ ทั้งหนูป่าและหนูบ้าน โค กระบือ สุกร สุนัข แกะ

20 วงจรการแพร่กระจายเชื้อเลปโตสไปร่าในธรรมชาติ-การติดเชื้อในคนและสัตว์
สัตว์ฟันแทะจำพวกหนูที่มีเชื้อปล่อยเชื้อทางปัสสาวะ น้ำ ดิน โคลน ปนเปื้อนเชื้อ คนติดเชื้อเลปโตฯและป่วย โค กระบือ สุนัข สุกร ป่วย และปล่อยเชื้อทางปัสสาวะ

21 Pathogenesis Poorly understood
Incubation period 7-14 days, disseminate to different organs

22 วิธีการติดต่อ เชื้อถูกปล่อยออกมากับปัสสาวะของสัตว์ที่ติดเชื้อ และปนเปื้อนอยู่ตามน้ำ และดินที่เปียกชื้น เชื้อสามารถไชเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังตามรอย แผลและรอยขีดข่วน และเยื่อบุของตา ปาก จมูก นอกจากนี้ยังสามารถไชเข้าทางผิวหนังปกติที่อ่อนนุ่ม เนื่องจากแช่น้ำอยู่นาน คนมักติดเชื้อโดยอ้อมขณะย่ำดินโคลน แช่น้ำท่วม หรือว่ายน้ำ หรืออาจติดโรคโดยตรงจากการสัมผัส เชื้อในปัสสาวะสัตว์หรือเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้ออาจเข้าร่างกายโดยการกินอาหารหรือน้ำ ที่ ปนเปื้อนเชื้อเข้าไป แต่พบได้น้อย

23

24

25 ระยะฟักตัว (อาจเร็วภายใน 2 วัน หรือนานถึง 26 วัน)
โดยเฉลี่ยประมาณ 10 วัน หรืออยู่ ในช่วง 7-14 วัน (อาจเร็วภายใน 2 วัน หรือนานถึง 26 วัน)

26 อาการและอาการแสดง อาการในคน ขึ้นกับชนิดและปริมาณของเชื้อ
มีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะรุนแรง หนาว สั่น ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง (มักปวดที่ น่อง โคนขา กล้ามเนื้อหลังและน่อง) ตา แดง และมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ตับและ ไตวาย ดีซ่าน อาจมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ทำให้รู้สึกสับสน เพ้อ ซึม กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ อาจมี อาการทางระบบทางเดินหายใจ ไอมีเสมหะ อาจมีเลือดปน

27 อาการและอาการแสดง อาการในคน
เชื้อทำลาย ไต ตับ ระบบหายใจ หรือ ระบบไหลเวียน เกิดอาการ ดีซ่าน ไตถูกทำลาย มีภาวะเลือดออก และลงท้ายด้วยอัตราป่วยตายที่ค่อนข้างสูง

28 อาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยเลปโตสไปโรซีส

29 Meningitis/ Meningoencepahalitis
85-90% Mild influenza-like illness Weil’s syndrome Meningitis/ Meningoencepahalitis Pulmonary hemorrhage Renal failure Weil’s syndrome 5-10% อาการของโรค Leptospirosis

30 ตาแดง ในโรค Leptospirosis (Conjunctival suffusion)

31 ปวดน่อง ในโรค Leptospirosis

32 CHF Lung hemorrhage Leptospirosis Acute liver failure AKI ตับวาย ไตวาย

33 ไตวาย 30%

34 อาการและอาการแสดงในสัตว์
สัตว์จะตอบสนองต่อการติดเชื้อเลปโตสไปราโดย แสดงอาการต่าง ๆ ได้ดังนี้ อาการรุนแรงเฉียบพลัน (per-acute) มีไข้สูงอุณหภูมิประมาณ องศาฟาเรนไฮต์ (40-42 องศาเซลเซียส) เกิดภาวะไตวาย อย่างเฉียบพลัน ในลูกสัตว์ อัตราตายสูงถึง 80%

35 อาการและอาการแสดงในสัตว์
อาการกึ่งเฉียบพลัน (acute หรือ sub- acute) มีอาการไข้ ซึม ไม่กินอาหาร เลือดคั่งตามเยื่อบุตา ปื้น เลือดออกตามผิวหนัง ปัสสาวะเป็นเลือด ตัวเหลือง ตาเหลือง โลหิตจาง อวัยวะภายในร่างกาย เช่น ม้าม ไต ต่อม น้ำเหลืองมีขนาดใหญ่ พบภาวะไตอักเสบ ปอดบวม ลำไส้ อักเสบ เต้านมอักเสบชนิดไม่มีอาการร้อน บวม แดง หยุด การให้นมทันที น้ำนมจะมีลักษณะผิดปกติเป็นก้อนเลือด สี เหลืองเข้ม หรือสีแดง ส่วนการแท้งลูกมักจะเกิดขึ้นในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ มีอัตราการตายแรกคลอดสูง ลูกสัตว์เกิดใหม่มีสภาพอ่อนแอ ลูกสัตว์บางตัวมีอาการทาง ระบบประสาท เนื่องจากสมองและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ อัตรา ตายประมาณ 5 %

36 อาการและอาการแสดงในสัตว์
อาการเรื้อรัง (chronic) สัตว์จะมีความผิดปกติทางระบบสืบพันธุ์ อัตราการผสมติดต่ำ ความสมบูรณ์พันธุ์ลดน้อยลงเนื่องมาจากขบวนการสร้างอสุจิ ลดลง มีการแท้งลูกเกิดขึ้นเป็นประจำ รกค้าง อัตราการตาย แรกคลอดสูง จำนวนลูกต่อครอกลด การให้ผลผลิตน้ำนม ลดลงเรื่อย ๆ จนหมดระยะให้นม ส่งผลให้ลูกสัตว์เกิดใหม่ ได้รับปริมาณน้ำนมไม่เพียงพอ ร่างกายจึงมีน้ำหนักลดลง อ่อนแอ และไวต่อการติดเชื้อฉวยโอกาส

37 อาการและอาการแสดงในสัตว์
ไม่แสดงอาการ (sub-clinical) พบได้บ่อยที่สุดในสัตว์ ซึ่งสัตว์มีสภาพปกติไม่แสดง อาการใด ๆ แต่จะมีเชื้อเลปโตสไปราอยู่ที่ไต และถูกขับออกมาพร้อมกับ ปัสสาวะซึ่งเป็นแหล่งรังโรคที่สำคัญ สำหรับการแพร่กระจาย ไปสู่คนและสัตว์อื่น

38 การรักษา การรักษาโรคควรประกอบด้วยการให้ยา ปฏิชีวนะที่รวดเร็วและเหมาะสม เพื่อ ป้องกัน Organ Failure ซึ่งนำไปสู่การ เสียชีวิต การรักษาตามอาการเพื่อแก้ไขความผิดปกติ และภาวะแทรกซ้อน ร่วมกับการรักษา ประคับประคอง การให้ยาปฏิชีวนะโดยเร็วที่สุด จะช่วยลด ความรุนแรงและป้องกันอาการแทรกซ้อนของ โรคได้ penicillin ถือเป็นปฏิชีวนะที่ให้ผลการรักษาที่ ได้ผลดีที่สุด สำหรับรายที่แพ้ penicillin อาจ ให้ doxycycline

39 มาตรการป้องกัน ให้สุขศึกษาแก่ประชาชนถึงวิธีการติดต่อของโรค หลีกเลี่ยง การว่ายน้ำ แช่หรือลุยในน้ำที่อาจปนเปื้อนเชื้อจากปัสสาวะ สัตว์นำโรค หรือถ้าจำเป็นควรสวมรองเท้าบู๊ต ให้การป้องกันโรคแก่ผู้ที่ทำงานที่เสี่ยงต่อโรค เช่น ใช้ถุงมือ ยาง รองเท้าบู๊ต ตรวจแหล่งน้ำ ดินทรายที่อาจปนเปื้อนเชื้อ ถ้าเป็นน้ำในท่อ ระบาย ควรล้างระบายน้ำที่ปนเปื้อนออกไป ถ้าพบสัตว์ติดเชื้อต้องแยกออกเพื่อป้องกันไม่ให้แพร่เชื้อไปยัง สัตว์ตัวอื่น ๆ หรือเกิดการปนเปื้อนเชื้อบริเวณที่อยู่อาศัย สถานที่ทำงาน แหล่งพักผ่อนท่องเที่ยว ฯลฯ ควบคุมกำจัดหนูในบริเวณที่อยู่อาศัยของคน โดยเฉพาะใน เขตชนบทและบริเวณที่อยู่อาศัย สถานที่ทำงาน แหล่ง พักผ่อนท่องเที่ยว ฯลฯ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคแก่ปศุสัตว์ (เช่น โค กระบือ) และสัตว์ เลี้ยง จะช่วยป้องกันโรคได้ แต่ป้องกันการติดเชื้อและการขับเชื้อทางปัสสาวะไม่ได้ วัคซีนที่ต้องใช้มีสายพันธุ์ที่พบมากในท้องถิ่นนั้น

40 การป้องกันควบคุมโรคด้วยมาตรการ 4E2C
Eary detection ค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด Early diagnosis วินิจฉัยโรคได้เร็ว Early treatment รักษาเบื้องต้นโดยเร็ว Early control ควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยง โดยเร็ว Coordination ประสานงานกันใน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Community involement การสร้างพลัง ในชุมชน ให้ตระหนักถึงอันตรายและ ช่วยกันเฝ้าระวัง ป้องกัน

41 เคล็ดลับ 4 ลด ในการต่อสู้กับโรคเลปโตสไปโรซีส
เคล็ดลับ 4 ลด ในการต่อสู้กับโรคเลปโตสไปโรซีส ลดหนู ด้วยการกำจัดแหล่งอาหาร โดยเก็บขยะที่เป็นเศษอาหารให้มิดชิด ลดการสัมผัส ด้วยการใส่รองเท้าบู๊ท และล้างตัวให้สะอาด ฟอกสบู่ทันที หลังสัมผัสแหล่งน้ำ ลดการเสียชีวิต ด้วยการไปพบแพทย์ ทันที เมื่อมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ตาแดง ลดการระบาด เมื่อมีผู้ป่วยแม้เพียงราย เดียว ต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

42 คำแนะนำสำหรับ รพ.สต.ในการป้องกัน/เฝ้าระวัง โรคเลปโตสไปโรซีสในพื้นที่
จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง จำแนกรายหมู่บ้าน และ ปัจจัยเสี่ยง ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการป้องกันตนเองให้ ปลอดภัยจากปัจจัยเสี่ยง และ อาการป่วยที่ ต้องรีบมาพบแพทย์(ภายหลังการมีพฤติกรรม เสี่ยง) กรณีมีไข้มาไม่เกิน 2 วัน ให้โอกาสรพ.สต. ดูแลผู้ป่วยเฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยอย่างใกล้ชิด โดยดูแลผู้ป่วยได้ไม่เกิน 2 วัน ภายหลังให้ ยา Doxycyclin ต้องนัดF/U เพื่อดูอาการทุกวัน หากหลังให้ยาแล้ว 2 วัน อาการไม่ดีขึ้น ต้อง Refer รพ.ทันที กรณีมีปัจจัยเสี่ยงและมีไข้มาเกิน 2 วัน ให้ Refer ผู้ป่วยไป รพ.ทันที

43 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google