งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
การบรรยาย เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555 โดย นายนพพร อัจฉริยวนิช รองอธิบดีกรมอาเซียน 17 พฤษภาคม 2555

2 สรุปผลสำรวจโดยมูลนิธิอาเซียนเกี่ยวกับทัศนคติ และความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน
สำรวจเมื่อปี 2550 จากนักศึกษา 2170 คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน

3 ถามว่า คุณรู้สึกว่าคุณเป็นประชาชนอาเซียน ตอบว่า มาก ถึง มากที่สุด
ถามว่า คุณรู้สึกว่าคุณเป็นประชาชนอาเซียน ตอบว่า มาก ถึง มากที่สุด LAOS 96.0% 2. Cambodia 92.7% 3. Vietnam 91.7% 4. Malaysia 86.8% 5. Brunei 82.2% 6. Indonesia 73.0% 7. Philippines 69.6% 8. THAILAND 67.0% 9. Myanmar 59.5% 10.Singapore 49.3%

4 ถามว่า โดยทั่วไปคุ้นเคยกับอาเซียนแค่ไหน ตอบว่า ค่อนข้างมาก ถึง มาก
Vietnam 88.6% Laos 84.5% Indonesia 68.3% THAILAND 68.0% Malaysia 65.9% Philippines 59.6% Cambodia 58.8% Brunei 53.8% Singapore 50.3% 10. Myanmar 9.6%

5 ถามว่า อยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆมากแค่ไหน ตอบว่า อยากรู้มาก ถึง มากที่สุด
Laos 100% Cambodia 99.6% Vietnam 98.5% Philippines 97.2% Malaysia 92.9% Indonesia 90.8% THAILAND 87.5% Brunei 86.8% Singapore 84.2% 10. Myanmar 77.8%

6 ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด Brunei 98.5% Indonesia 92.2% Laos 87.5% Myanmar 85.0% Singapore 81.5% Vietnam 81.3% Malaysia 80.9% Cambodia 63.1% Philippines 38.6% 10.THAILAND 38.5% Laos 68.4% Indonesia 65.6% Vietnam 64.7% Malaysia 53.0% Singapore 47.8% Brunei 44.3% Philippines 37.8% 8. Cambodia 36.6% Myanmar 32.5% 10. THAILAND 27.5%

7 คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจากที่ใด
1. ทีวี % 10. ครอบครัว % 2. โรงเรียน % 11. ท่องเที่ยว % 3. หนังสือพิมพ์ % 12. ภาพยนตร์ % 4. หนังสือ % 13. เพลง % 5. อินเตอร์เน็ต % 14. การงาน % 6. วิทยุ % 7. กีฬา % 8. โฆษณา % 9. เพื่อน %

8 ASEAN Factsheet สมาชิกผู้ก่อตั้ง ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999 ประชากร – ล้านคน พื้นที่- 4.5 ล้าน ตาราง กม. GDP รวม 1,540 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การค้ารวม 1,800 พันล้านเหรียญสหรัฐ การลงทุนจากต่างประเทศ 39,623 ล้านเหรียญสหรัฐ 8

9 จุดเริ่มต้นของอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510

10 ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับประเทศ/กลุ่มประเทศนอกภูมิภาค
Australia U.S.A. Canada Russia ASEAN China New Zealand South Korea EU Japan India

11 China ASEAN Japan South Korea ASEAN + 3

12 อาเซียนกับสหประชาชาติ
วันที่ 27 กันยายน 2550 เลขาธิการอาเซียนและเลขาธิการสหประชาชาติ ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น

13 การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS)
China Japan South Korea U.S.A. ASEAN 2554 Russia India Australia New Zealand

14 เขตการค้าเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
ASEAN-Russia ASEAN-Canada CEPEA ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA EAFTA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP ASEAN-Pakistan AEC ASEAN-India FTA AEC: ล้านคน EAFTA: 2129 ล้านคน CEPEA: 3365 ล้านคน EAFTA (East Asia Free Trade Area) ความตกลงเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ ASEAN-US TIFA (ASEAN-US Trade And Investment Framework Arrangement) ASEAN-Australia- New Zealand FTA 14

15 กฎบัตรอาเซียน ลงนามเมื่อ 20 พ.ย เพื่อเป็นธรรมนูญของอาเซียน และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 15 ธ.ค. 2551 มีกฎกติกาในการทำงาน มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เป็นการวางรากฐานสำหรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558

16 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community: APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community: AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)

17 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ปี 2558 (2015) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน (APSC) ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) 17 17 17

18 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community: APSC) วัตถุประสงค์ ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค อยู่ร่วมกันโดยสันติสุข สามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงมีเป้าหมายหลัก มีกฎกติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน เช่น ภัยพิบัติ มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก 18

19 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2. มีความสามารถในการแข่งขัน
สัมมนาสื่อมวลชนประชาสัมพันธ์เชื่อมโยงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2. มีความสามารถในการแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ปี 2015 สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. สามารถบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 19 เก็จพิรุณ เกาะสุวรรณ์ 19

20 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
วัตถุประสงค์ มุ่งหวังเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ให้ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี ปราศจากโรคภัย มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แผนการจัดตั้งประชาคมฯ ประกอบด้วยความร่วมมือ 6 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา 20

21 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ปี 2558 (2015) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน (APSC) ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) Connectivity 21 21 21

22 ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity)
เป็นผลจากความริเริ่มของไทยในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียน เมื่อปี 2552 แผนแม่บทฯ ระบุการเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน ในการประชุมสุดยอด ครั้งที่ 18 ผู้นำอาเซียนได้สนับสนุนข้อเสนอของไทยที่จะให้มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมิภาคอื่นด้วย (Connectivity Plus) 22

23 การส่งเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชน
ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น จัดตั้งศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนจริงในด้านประชาชน วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และเศรษฐกิจ ภายในปี 2012 สนับสนุนการสร้างหลักสูตร เนื้อหา สื่อการสอนเกี่ยวกับอาเซียน ภายในปี 2012 และสนับสนุนการเรียนภาษาของประเทศอาเซียน เป็นภาษาที่สาม ส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนตามแผนการสื่อสาร และ ความเข้าใจอันดีในวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ร่วมกันของอาเซียน สนับสนุนการระดมทุนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของอาเซียนร่วมกัน ภายในปี 2013

24 ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น
ศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดเสรีข้อจำกัดในการตรวจลงตราและจัดตั้ง ช่องตรวจลงตราอาเซียน สำหรับผู้ถือสัญชาติอาเซียน และผ่อนปรนการ ตรวจลงตราสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ พัฒนาบริการทางการท่องเที่ยวร่วมกัน พัฒนามาตรฐานทักษะ ฝึกอบรมวิชาชีพและเทคโนโลยี โดยแลกเปลี่ยน แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างกัน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือในอาเซียนให้มากขึ้น สร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายบริการทางสังคมและองค์กรผู้ปฏิบัติงาน ด้านสวัสดิการสังคม

25 ประชาคมอาเซียน กับ การศึกษา
พันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก กฎบัตรอาเซียน: วัตถุประสงค์ของอาเซียน พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยผ่านความร่วมมือที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างพลังประชาชนและเสริมสร้างความเข้มแข็งแห่งประชาคมอาเซียน

26 ประชาคมอาเซียน กับ การศึกษา
พันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก แผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน - ส่งเสริมความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน - ประชาชนเข้าถึงโอกาสอย่างเที่ยงธรรมในการพัฒนา มนุษย์ - ส่งเสริมและลงทุนในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต - การสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน

27 ประชาคมอาเซียน กับ การศึกษา
พันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก แผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน - การฝึกอบรมและการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบการ - ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เชิงประยุกต์และเทคโนโลยีในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ

28 EDUCATION ASEAN COMMUNITY
1.บทบาทการศึกษาต่อเสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง การสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของกฎบัตรอาเซียนหลักการประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ตระหนักคุณค่าและค่านิยมทางวัฒนธรรมการสร้างเครือข่ายผู้บริหารโรงเรียน การจัดงานฉลองวันอาเซียน 2.บทบาทการศึกษาในเสาหลักด้านเศรษฐกิจ การจัดทำกรอบการพัฒนาทักษะในอาเซียน ระบบการถ่ายโอนนักเรียน การถ่ายโอนและพัฒนาแรงงานที่มีความชำนาญการในภูมิภาค การพัฒนามาตรฐานอาชีพที่เน้นศักยภาพในอาเซียนที่สามารถสนองตอบความต้องการของภาคอุตสาหกรรม 3.บทบาทการศึกษาในเสาหลักด้านสังคมวัฒนธรรม การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในชุมชนชนบท การจัดหลักสูตรระดับปริญญาตรีเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรมอาเซียน การสนับสนุนภาษาอาเซียน การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียนในเยาวชน การพัฒนาด้านการวิจัยและการพัฒนาในภูมิภาค การสร้างความรู้และตระหนักเกี่ยวกับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อบรรลุเป้าหมายการศึกษาเพื่อปวงชน การจัดทำเนื้อหาเกี่ยวกับอาเซียนร่วมกัน ตลอดจนการร่วมแบ่งปันทรัพยากรและจัดตั้งกองทุน เพื่อการพัฒนาการศึกษาในภูมิภาค EDUCATION

29 บทบาทของการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียน
เสาเศรษฐกิจ การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน และการดำเนินงานของอาเซียน เพื่อที่จะสนับสนุนการค้าและการลงทุนในอาเซียน การศึกษาในฐานะภาคบริการที่จะต้องมีการเปิดเสรี

30 บทบาทของการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียน
เสาสังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างอัตลักษณ์ของการเป็นประชาชนอาเซียน เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ขนมธรรมเนียมประเพณี แนวคิดของประชาชนในประเทศสมาชิก ทำให้มีความรู้สึกร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน เสาการเมืองและความมั่นคง เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของกฎบัตรอาเซียน การแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสันติและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เพื่อปลูกฝังสร้างค่านิยม ทัศนคติ การมองภาพที่คล้ายหรือใกล้เคียงกัน เช่น หลักการประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน

31 ประเด็นหลักของแผนการศึกษา 5 ปีของอาเซียน
ส่งเสริมการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน การเข้าถึงการศึกษา (Education for All) การส่งเสริมการเคลื่อนย้ายและการสร้างระบบการศึกษาแบบสากล (Cross-border mobility and internationalisation of Education) การสนับสนุนองค์กรอื่น ๆ ในการสร้างประชาคมอาเซียน

32 ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน
การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิต : ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศสมาชิกอาเซียน และการทำงานข้ามวัฒนธรรม การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษา : พัฒนาอาจารย์ หลักสูตร การเรียนการสอน โครงสร้างพื้นฐานในระดับนานาชาติ ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกษาไทย : เตรียมความพร้อมเพื่อใช้ประโยชน์จากการรวมตัวของอาเซียนด้วยการสร้างเครือข่ายนักวิชาการกับประเทศสมาชิกอาเซียน และการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการและความร่วมมือด้านการศึกษากับกลุ่มอาเซียน

33 (นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันที่แถลงต่อรัฐสภา)
“นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อมและความเข้มแข็ง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง” (นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันที่แถลงต่อรัฐสภา)

34 ทิศทางการศึกษาของไทย
1. เป็นไปตามยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2555 2. สอดคล้องกับแผนการศึกษา 5 ปีของอาเซียน 3. สอดคล้องกับแผนงานความร่วมมือในกรอบอื่น ๆ ที่ไทย เป็นสมาชิก อาทิ อาเซียน + 3 EAS APEC และ SEAMEO 4. มุ่งไปสู่แนวทางความเป็นสากลตามกระแสโลกาภิวัตน์ (Twenty – first Century Skills)

35 ประเด็นที่ควรเน้นเพิ่มเติมในเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาของไทย
ในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา การสร้างความรู้สึกเป็นเพื่อน พี่ น้อง สมาชิกในประชาคมอาเซียน สร้างค่านิยมของการเป็นอาเซียน (ภูมิภาคนิยม) สร้างเครือข่ายผู้นำเยาวชนรุ่นใหม่เพื่อเป็นผู้นำอาเซียนรุ่นต่อไป

36 ประเด็นที่ควรเน้นเพิ่มเติมในเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาของไทย
ในระดับอาชีวศึกษา/อุดมศึกษา การเสริมสร้างทักษะวิชาชีพ สร้างเครือข่ายระหว่างสถาบันการศึกษาในอาเซียน (และขยายไปสู่อาเซียน + 3) โครงการโอนหน่วยกิต (และขยายความร่วมมือไปสู่อาเซียน+3) โครงการเพื่อลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่ากับใหม่ เช่น การส่งเสริมความร่วมมือด้านทุนการศึกษา ด้าน ICT การจัดทำหลักสูตร Inter + ASEAN

37 ข้อเสนอแนะการเตรียมความพร้อมของสถาบันการศึกษาของไทย
1. เตรียมรับมือกับการเข้ามาลงทุนด้านสถานศึกษาของประเทศอาเซียนอื่น (การเน้นจุดแข็งของหลักสูตรที่ตนเองเชี่ยวชาญ การลงทุนเรื่องครูที่มีความสามารถ การควบรวมกิจการ การสร้างเครือข่ายพันธมิตรภายในประเทศ) 2. สร้างเครือข่ายกับสถาบันการศึกษาชั้นนำของอาเซียน 3. การปรับหลักสูตรการศึกษาที่เป็นสากล (เน้นการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ) 4. การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนอาเซียนอื่นเพื่อสร้างการยอมรับ 5. การออกไปร่วมลงทุนหรือตั้งสถาบันการศึกษา ในประเทศอาเซียนอื่น

38 การเปิดเสรีด้านการศึกษา
แบ่งการให้บริการสาขาการศึกษาเป็น 4 รูปแบบ ตามรูปแบบการค้าบริการ (Mode) กล่าวคือ Mode 1 – Cross Border Supply (การให้บริการข้ามพรมแดน) ยกตัวอย่างเช่น การเรียนทางไกลและการเรียนออนไลน์ Mode 2 – Consumption Abroad (การเดินทางไปใช้บริการในต่างประเทศ) กล่าวคือ นักเรียนและนักศึกษาที่เดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศ Mode 3 – Commercial Presence (การจัดตั้งธุรกิจ) ยกตัวอย่างเช่น การจัดตั้งสถาบันการศึกษา การลงทุนร่วมกับสถาบันท้องถิ่น และ Mode 4 – Movement of Natural Persons (การเคลื่อนย้ายบุคลากรวิชาชีพ) ซึ่งรวมถึงการเคลื่อนย้ายอาจารย์ ผู้บรรยาย และนักวิจัยที่ให้บริการด้านการสอน

39 การจัดทำร่างข้อตกลง MRA (Mutual recognition Arrangement)
ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานภายใต้กรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service - AFAS) เป็นพันธกรณีให้อาเซียนยอมรับร่วมกันในเรื่อง คุณสมบัติแรงงานฝีมือ ประวัติการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เพื่ออำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต

40 การจัดทำร่างข้อตกลง MRA
บริการด้านวิศวกรรม (ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005) บริการด้านพยาบาล (ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2003) บริการด้านสถาปัตยกรรม (ลงนามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007) วิชาชีพสำรวจ (ลงนามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007) วิชาชีพการท่องเที่ยว (ลงนามในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009) วิชาชีพแพทย์ (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) วิชาชีพทันตแพทย์ (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) บริการด้านการบัญชี (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009)

41 รายการวิทยุ “เราคืออาเซียน”
Q & A รายการวิทยุ “เราคืออาเซียน” AM 1575 Khz วิทยุสราญรมย์ ทุกวันศุกร์ – น. One Vision One Identity One Community

42 ขอบคุณ One Vision One Identity One Community


ดาวน์โหลด ppt เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google