งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topologies)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topologies)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topologies)
* 07/16/96 2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topologies) Topology : หมายถึง “รูปโครงหรือแผนภาพที่แสดงให้เห็นการเชื่อมโยงของสายสื่อสารเข้า กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย” Ring Topologies Bus Topologies Star Topologies Hybrid Topologies MESH Topologies Tuesday, September 18, 2018 *

2 2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topologies)
ศัพท์ที่ควรรู้ Cable : สายสัญญาณ (Transmission medium) สายที่ใช้รับ-ส่งสัญญาณ, ข้อมูล หรืออื่นๆ อาจเป็นสายทองแดง หรือใยแก้ว Repeater : อุปกรณ์ขยายความแรงของสัญญาณไปยังเครือข่ายอีกด้านหนึ่ง Tuesday, September 18, 2018

3 Network Topologies : Ring Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Ring Topologies ทุก Node ต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลจะไหลวนในทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์ แต่ละโหนด จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเครื่อง 1 ตัว ทำหน้าที่เพิ่มเติมข้อมูลที่จำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารเข้าในส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่องถัดไป เมื่อ Node ถัดไปต้องรับข้อมูล จึงส่งสัญญาณตอบ Node ที่จะส่งข้อมูล ว่าพร้อมรับ Node ที่ส่งข้อมูล เมื่อได้รับสัญญาณตอบรับ จึงทำการส่งข้อมูล แล้วจะลบข้อมูลออกจาก ระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป การเชื่อมต่อแบบ Ring ใช้ในเครือข่าย FDDI Tuesday, September 18, 2018 *

4 Network Topologies : Ring Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Ring Topologies ข้อดี การส่งผ่านข้อมูลจะเป็นไปในทิศทางเดียว จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณข้อมูล ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลายๆ เครื่องพร้อมๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeater ของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นของตนเองหรือไม่ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน ข้อเสีย ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายทั้งเครือข่าย หยุดชะงักได้ ขณะที่ข้อมูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่อง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุกๆ Repeater จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้นๆ ทุกข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง Tuesday, September 18, 2018 *

5 Network Topologies : Bus Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Bus Topologies ชื่อเรียก bus topology, Linear bus topology, Token bus Tuesday, September 18, 2018 *

6 Network Topologies : Bus Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Bus Topologies ประกอบด้วยสายสัญญาณหลัก (ที่นิยมคือสาย Coaxial) ที่ปลายสาย ทั้งสองข้างจะมีอุปกรณ์ terminator ปิด เพื่อลบสัญญาณที่จะสะท้อน กลับเข้ายัง bus อันเป็นเหตุให้เกิดการชนกันของข้อมูล (collision) node จะเชื่อมต่อกับ cable เรียงตามกันเป็นลำดับ ข้อมูลจาก node ผู้ส่ง จะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ (แต่ละแพ็กเกจ ประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง) การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส แต่ละ node จะคอยตรวจดูตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลตรง กับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถ้าตรง ก็รับข้อมูล ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้ข้อมูล ผ่านไป (The Florida Center for Instructional Technology College of Education, 2003) Tuesday, September 18, 2018 *

7 Network Topologies : Bus Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Bus Topologies ข้อดี + ค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณไม่มาก (เมื่อเทียบกับแบบอื่น) + สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายไม่มาก (ไม่ต้องใช้ Hub) + ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก + ถือว่าเป็นแบบโทโปโลยีที่เคยได้รับความนิยมใช้กันมาก (ปัจจุบันไม่นิยม) Tuesday, September 18, 2018 *

8 Network Topologies : Bus Topologies
ข้อเสีย - เกิดข้อผิดพลาดง่าย : หากสายสัญญาณขาด ระบบไม่สามารถใช้งานได้ - การส่งข้อมูลล่าช้า เพราะแต่ละช่วงเวลา มีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่อง เดียว ที่จะส่งข้อมูลได้ เครื่องอื่นๆ ต้องรอให้ bus ว่าง ถ้ามีการส่ง มากกว่าหนึ่งเครื่อง ทำให้เกิดการชนกันของข้อมูล collision - การไหลของข้อมูลที่เป็น 2 ทิศทางทำให้ระบุจุดที่เกิดความเสียหายในบัส ยาก โหนดที่ถัดต่อไปจากจุดที่เกิดความเสียหายจนถึงปลายของบัสจะ ไม่สามารถสื่อสารข้อมูลได้ แต่โหนดที่อยู่ก่อนหน้าจุดเสียหายจะยังคง สื่อสารข้อมูลได้ Tuesday, September 18, 2018

9 Network Topologies : Star Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Star Topologies ทุก nodes เชื่อมต่อโดยตรงกับ hub หรือ concentrator hub หรือ concentrator จะบริหารจัดการ หรือควบคุม ข้อมูล การเชื่อมต่อเครือข่าย Lan ในปัจจุบันนิยม ใช้การเชื่อมต่อแบบ Star กันโดยทั่วไป Tuesday, September 18, 2018 *

10 Network Topologies : Star Topologies
* 07/16/96 Network Topologies : Star Topologies ข้อดี เป็นรูปแบบที่ติดตั้งได้ง่าย รวมทั้งการเดินสาย ระบบไม่หยุดชะงัก ถ้ามีการย้าย/ยกเลิก จุดเชื่อมต่อ หรืออุปกรณ์ ตรวจสอบหาความผิดพลาด และย้ายออกเฉพาะจุดได้ง่าย ข้อเสีย เมื่อเทียบกับแบบ Bus ต้องใช้สายสัญญาณมากกว่า ถ้า hub หรือ concentrator เสีย ระบบจะใช้ไม่ได้ แพงกว่าแบบ Bus เพราะต้องมี hub หรือ concentrators Tuesday, September 18, 2018 *

11 Network Topologies : Hybrid Topology (แบบผสม)
* 07/16/96 Network Topologies : Hybrid Topology (แบบผสม) Hub Ring Bus Star Tuesday, September 18, 2018 *

12 Network Topologies : Hybrid Topology
* 07/16/96 Network Topologies : Hybrid Topology เป็นรูปแบบที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS, RING เข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการลดข้อเสียของรูปแบบที่กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำมาใช้กับระบบ WAN (Wide Area Network) การเชื่อมต่อกันของแต่ละรูปแบบ ต้องใช้ตัวเชื่อมสัญญาณเข้ามาเป็นตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ Router เป็นตัวเชื่อมการติดต่อกันเครือข่ายย่อยๆ หลายๆ เครือข่าย แต่ละเครือข่ายอาจมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน Tuesday, September 18, 2018 *

13 Network Topologies : MESH Topology (แบบร่างแห)
* 07/16/96 Network Topologies : MESH Topology (แบบร่างแห) คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีสายไปเชื่อมกับทุกๆ เครื่อง เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด Tuesday, September 18, 2018 *

14 Network Topologies : MESH Topology
* 07/16/96 Network Topologies : MESH Topology ข้อดี แต่ละเครื่องส่งข้อมูลได้อิสระ ไม่ต้องรอการส่งข้อมูล การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ว ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสายเคเบิ้ลสูง ระบบนี้ยากต่อการเดินสาย มีราคาแพง มีผู้นิยมไม่มากนัก Tuesday, September 18, 2018 *

15 Network Topologies : ขีดจำกัดในการเชื่อมโยงสายสื่อสาร
* 07/16/96 Network Topologies : ขีดจำกัดในการเชื่อมโยงสายสื่อสาร (ภาสกร เรืองรอง, 2546) นอกจากรูปแบบของโทโปโลยีจะมีความสำคัญต่อการ เลือกรูปแบบของเครือข่ายและการจัดการระบบของ เครือข่ายแล้ว เรายังต้องคำนึงถึงองค์ประกอบอื่นๆ ที่สำคัญของแต่ละโทโปโลยีอีกด้วยเช่น - ความซับซ้อนยุ่งยากในการติดตั้งเชื่อมโยงสายสื่อสาร - ราคาของสายสื่อสาร - ความซ้ำซ้อนในการออกแบบ Tuesday, September 18, 2018 *

16 Network Topologies : ขีดจำกัดในการเชื่อมโยงสายสื่อสาร
- การตรวจสอบความผิดพลาดเสียหายในเครือข่าย - การขยายเพิ่มเติมโหนดในอนาคต - ความยาวสูงสุดของแต่ละช่วงสื่อสาร (Segment) : ระยะ จากปลายหนี่งไปอีกปลายหนึ่ง (Ethernet : 10BaseT ระยะไม่เกิน เมตร) - จำนวนสเตชั่นสูงสุดใน 1 ช่วงสื่อสาร - จำนวนช่วงสื่อสารสูงสุดใน 1 เครือข่าย - ความยาวสูงสุดของสายสื่อสารทั้งหมดใน 1 เครือข่าย (Ethernet : ความเร็ว 10 Mbps ไม่เกิน 3,000 ฟุต) Tuesday, September 18, 2018

17 เพิ่มข้อมูลเพิ่มเติม : องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เพิ่มข้อมูลเพิ่มเติม : องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Network Operating System : ระบบปฏิบัติการเครือข่าย Network Peripherals : อุปกรณ์ระบบเครือข่าย Network Interface Card (LAN Adapters) Client/Server Peer-to-Peer Network Tuesday, September 18, 2018

18 * 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System - NOS เทเนนบาม ( 2542) การพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะแรก เน้นการพัฒนาอุปกรณ์ (Hardware) ขึ้นมาใช้งานสื่อสารข้อมูลก่อน แล้วจึงคิดสร้างโปรแกรม (Software) เพื่อใช้ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ ปัจจุบันการพัฒนาอุปกรณ์ (Hardware) และโปรแกรม (Software) มีความสัมพันธ์กัน และมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นเป็นลำดับ Tuesday, September 18, 2018 *

19 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System - NOS
วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่. (2546) คุณสมบัติที่สำคัญของ NOS การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ การใช้ทรัพยากรเครือข่ายร่วมกัน (CPU, Harddisk, Printer) ระบบการป้องกันการสูญหายของข้อมูล หลากผู้ใช้/หลายงาน (Multiuser/Multitasking) การแบ่งเวลา (Time Sharing) การแบ่งทรัพยากร (Resource Sharing) Tuesday, September 18, 2018

20 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System - NOS
NOS ที่นิยมใช้งานในปัจจุบัน จะใช้หลักการประมวลผลแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) โดยส่วนประกอบสำหรับการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลและการจัดการโปรแกรมจะทำงานอยู่บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ในขณะที่ส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะอยู่บนเครื่องไคลเอนต์ เช่น การติดต่อกับผู้ใช้ การประมวลผล เป็นต้น NOS ทำให้ผู้ใช้เห็นว่างานและอุปกรณ์ทั้งหลายที่ใช้นั้นเสมือนหนึ่งอยู่บนเครื่องไคลเอนต์เอง ถือว่าเป็นหน้าที่หลักอันหนึ่งของระบบปฏิบัติการเครือข่าย Tuesday, September 18, 2018

21 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
* 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, (2546) NOS สำหรับการทำงานแบบ Client Server จะแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ สำหรับติดตั้งในเครื่อง Server :Windows2000 Server สำหรับติดตั้งในเครื่อง Client (Workstation) : Windows2000 Client ส่วนใหญ่เมื่อกล่าวถึง NOS มักจะหมายถึง OS สำหรับ Server ซึ่งจะมีคุณสมบัติที่รองรับการเรียกใช้บริการจากผู้ใช้จำนวนมาก (multi-user) ได้ ส่วน NOS สำหรับ Client จะทำงานแบบ Single User เป็นหลักและยังคงตอบสนองการใช้งานบนเครือข่ายได้ Tuesday, September 18, 2018 *

22 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
* 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System (อภิรดี, 2546) หลักการและหน้าที่ของ NOS ระบบจะรู้ว่าข้อมูลที่ใช้งานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรืออยู่ที่คอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย โปรแกรมควบคุมระบบที่ดีจะต้องทำให้ผู้ใช้ไม่เห็นความแตกต่างของการใช้งาน ไม่ว่าจะอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง หรือทำงานโดยใช้ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นในเน็ตเวิร์ค Tuesday, September 18, 2018 *

23 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
NOS ที่มีใช้ทั่วไปสามารถแบ่งการทำงานออกได้เป็นสองประเภท ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการอื่น (เช่น DOS, OS/2 เป็นต้น) ตัวอย่างเช่น OS/2 LAN Manager และ 3+ Open ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการ OS/2 ปัจจุบัน Windows95, 98, Me, XP มีคุณสมบัติการทำงานด้านเครือข่ายรวมอยู่ด้วย สร้างระบบปฏิบัติการของตัวเองขึ้นมา เช่น NetWare ของบริษัท Novell และ Vines ของบริษัท Banyan เป็นต้น Tuesday, September 18, 2018

24 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
(อภิรดี, 2546) ระบบปฏิบัติการแบบ Client/Server และ Peer/Peer โดยทั่วไปการจัดแบ่งหน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบเน็ตเวิร์ค จะมี 2 แบบ แบบเครื่องมีศักดิ์ศรีเท่ากัน เรียกว่า Peer to Peer หมายถึง แต่ละเครื่องจะ ยอมให้เครื่องอื่นๆ ในระบบเข้ามาใช้ข้อมูลหรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอภาค เท่ากัน (Windows98, Me, XP) แบบที่เรียกว่า Server - based คือมีบางเครื่องทำหน้าที่เป็น Server หรือ ผู้ให้บริการแก่เครื่องอื่นๆ เป็นหลัก (Windows2000 server) Tuesday, September 18, 2018

25 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
การจัดทั้ง 2 แบบมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน ระบบที่เป็น Peer to Peer (เช่น Windows 98, Me, XP) จะมีความยืดหยุ่นมากในแง่ของการใช้ ข้อมูลและอุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน คือเครื่องหนึ่งจะใช้ข้อมูลของเครื่อง อื่นๆ ได้หมด แต่ในขณะเดียวกันการที่ไม่มีเครื่องใดถูกกำหนดให้เป็น Server โดยเฉพาะ (non - dedicated server) ทำให้มีประสิทธิภาพหรือ ความเร็วไม่สูงเท่ากับระบบที่มี Server โดยเฉพาะ (หรือที่เรียกว่า dedicated server เช่น NetWare 3.xx และ 4.xx) ระบบ Peer to Peer เหมาะกับงานทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันใน ลักษณะไม่แน่นอนระหว่างเครื่องต่างๆ แต่ปริมาณข้อมูลไม่มากนัก ข้อดี ข้อเสียทั้งสองแบบสรุปได้ดังนี้ Tuesday, September 18, 2018

26 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
(อภิรดี, 2546) Tuesday, September 18, 2018

27 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
Netware from Novell Microsoft Windows NT Server Microsoft Windows 2000 LANTastic Unix Linux Tuesday, September 18, 2018

28 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
Netware เป็น NOS จากบริษัท Novell, Inc. ปี เริ่มวางตลาด โดยใช้ชื่อว่า “NetWare 86” หมายถึงระบบปฏิบัติการ NetWare ที่ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีซีพียู 8086 เป็นเซิร์ฟเวอร์ (ไมโครคอมพิวเตอร์ระดับ PC/XT) เมื่อมีซีพียู Novell ก็มีโปรแกรม “Advanced NetWare 286” ในปี ทำให้ได้รับความนิยมอย่างมาก สำหรับระบบ LAN ขนาดเล็ก Novell ก็ได้ออก ELS NetWare เป็นเวอร์ชันเน็ตเวิร์คขนาดเล็ก (ELS มาจากคำว่า Entry Level System) สำหรับผู้ใช้ 4-8 คน Tuesday, September 18, 2018

29 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
ในปี 1993 Novell ได้วางตลาด NetWare 4.XX ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เครื่องในระดับ ขึ้นไปมาทำเป็น Server แต่มีความสามารถในการจัดการบริหารเน็ตเวิร์คขนาดใหญ่ที่เรียกว่า NetWare Directory Services หรือ NDS ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้ NetWare ทำการเชื่อมต่อเน็ตเวิร์คหลายๆ ระบบได้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น Tuesday, September 18, 2018

30 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
ประมาณปี 1998 ไมโครซอฟต์ได้ว่าจ้าง David Cutler จากบริษัท Digital Equipment Corporation (DEC) ให้เข้ามาทำหน้าที่สร้างระบบปฏิบัติการตัวใหม่สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและสำหรับเครื่อง Server ในระบบเครือข่ายที่ชื่อ Windows NT (New Technology) ให้เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถรองรับงานใหญ่ โดยมีปรัชญาหลักในการออกแบบ คือ Extensibility : เป็นเครือข่ายที่เพิ่มขยายได้ Portability : มีช่องทางเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ Multiprocessing and Scalability : รองรับการประมวลผลแบบพร้อมๆ กันได้ Reliability and Robustness : ให้ความเชื่อมั่น และรองรับงานหนักได้ Security : มีระบบรักษาความปลอดภัย Performance : มีระบบการทำงานที่ดี Tuesday, September 18, 2018

31 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
ปี เริ่มเวอร์ชั่นแรกของ Windows NT Version 3.1 และ 3.5 ปี version ประสบความสำเร็จอยู่ในระดับหนึ่ง ปี 1996 เปิดตัว Windows NT 4.0 ประสบความสำเร็จสูงสุด Windows NT 4.0 ได้เปรียบกว่า Windows 98 เรื่องของความมีเสถียรภาพ แต่ก็ยังขาดแคลนหลาย ๆ สิ่ง เช่น Plug and Play และ Driver สำหรับฮาร์ดแวร์ใหม่, ระบบจัดการพลังงานและอื่น ๆ อีกมากและเป็นส่วนหนึ่งของที่มาในการสร้าง Windows 2000 ที่รวมเอาข้อดีของสองระบบ (98 กับ NT) เข้าไว้ด้วยกัน บวกกับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพิ่มเติม Tuesday, September 18, 2018

32 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
Windows 2000 : เดิมทีถูกตั้งชื่อให้เป็น Windows NT 5.0 (พัฒนาจาก Windows NT 4.0) แต่เมื่อถึงปลายปี 1998 ไมโครซอฟต์ได้ประกาศรูปแบบการเรียกระบบปฏิบัติการตัวนี้เสียใหม่ ให้เป็น Windows 2000 โดยผลิตภัณฑ์ในตระกูล Windows NT 5.0 ทั้งหมดจะถูกเปลี่ยนชื่อไป Windows NT Workstation 5.0 ->Windows 2000 Professional Windows NT Server > Windows 2000 Server Windows NT Server 5.0 Enterprise Edition -> Windows Advanced Server Tuesday, September 18, 2018

33 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
แนวความคิดในการออกแบบ Windows 2000 1) พัฒนาจากรากฐานของความมีเสถียรภาพ ของ NT 2) ผสมผสานกับด้านที่ดีของ Windows 98 3) ต้องใช้งานง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น 4) บริหารระบบง่ายและค่าใช้จ่ายในการดูแลระบบต่ำ 5) สามารถรองรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้เป็นอย่างดี Tuesday, September 18, 2018

34 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
หลักการทำงานที่สำคัญของ Windows2000 Server Active Directory : การจัดการรายชื่อผู้ใช้, กลุ่มผู้ใช้, ทรัพยากรเครือข่าย (printer, file, folder) แบบลำดับชั้น (hierarchy) การอนุญาต/ไม่อนุญาตให้ใช้ทรัพยากร การกำหนดพื้นที่ใช้งาน (Disk Quota) สำหรับแต่ละ User การทำ Dynamic Disk : Extent Volume (ขยายพื้นที่ HD จากเดิมที่เคยกำหนดไว้), Spanned volume (พื้นที่ HD ภายหลังและรวม Volume), Mirrored Volume (ทำสำเนาบน 2nd HD) , RAID 5 Volume ((ทำสำเนาบน 2nd, 3rd HD) Tuesday, September 18, 2018

35 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
หลักการทำงานที่สำคัญของ Windows2000 Server Internet Printing Protocol (IPP) : สั่งพิมพ์งานผ่าน Internet Intellimirrow : ระบบเก็บค่า Setting ของแต่ละ User (Data, Document, Software, Settings) Tuesday, September 18, 2018

36 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
แชทท์, สแตน. 2540 LANTastic เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Artisoft มีทั้งส่วนที่เป็น Software และ Hardwrare ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานในหลายๆ Platform เช่น IBM PC, Macintosh (Platform เป็นโครงสร้างทางด้าน Hardware ของคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกัน เช่น Platform ของ IBM PC, Macintosh, Minicomputer etc.) LANTastic ออกแบบมาเพื่อให้สามารถทำงานร่วมกับ OS ของ Windows, Novell, Macintosh, Unix LANTastic เป็น NOS ที่ทำงานในแบบ Peer-to-Peer แต่ละ Workstation สามารถ Share Resources เช่น Harddisk, Printer ได้ ไม่ต้องติดตั้ง Server หรือทำ PC ให้ทำหน้าที่เป็น Dedicated Server เหมาะกับเครือข่ายขนาดเล็ก เช่นเดียวกับ Windows98, Windows95 Hardware ของ LANTastic เริ่มมีการ End of Life announcement ถ้าสนใจต้อง special order Tuesday, September 18, 2018

37 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
* 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System วโรดม วีระพันธ์. (2543) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่รองรับการทำงานแบบ หลากผู้ใช้/หลายงาน (Multiuser/Multitasking) การแบ่งเวลา (Time Sharing) การแบ่งทรัพยากร (Resource Sharing) มีการพัฒนาการมากว่า 30 ปีแล้ว จากห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ Bell Labs โดย Ken Thomson และ Dennis Ritchie ปัจจุบันกลายเป็นระบบปฏิบัติการที่มีผู้นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เครื่องเมนเฟรม (Main Frame) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) อัตราการเติบโตของยูนิกซ์อยู่ในระดับสูง เพราะความสามารถ ความคล่องตัว และ ความง่ายในการใช้งาน เป็นระบบปฏิบัติการที่รองรับการทำงานแบบหลากผู้ใช้/หลายงาน (Multiuser/Multitasking) คือระบบสามารถทำงานได้หลายอย่างพร้อมกันใน เวลาเดียวกัน ระบบอนุญาตให้ผู้ใช้หลายคนเข้ามาใช้งานระบบ โดยที่ระบบมี วิธีการในการจำแนกผู้ใช้แต่ละคน ซึ่งใช้งานอยู่บนระบบเดียวกันได้ ผู้ใช้ หลายคนสามารถใช้งานเครื่องเดียวกันพร้อมกันได้ โดยใช้ลักษณะของการ แบ่งเวลา (Time Sharing) และแบ่งทรัพยากร (Resource Sharing) มีการพัฒนาการมากว่า 30 ปีแล้ว จากห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ Bell Labs โดย Ken Thomson และ Dennis Ritchie ปัจจุบันกลายเป็น ระบบปฏิบัติการที่มีผู้นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง บนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ซึ่งมีทรัพยากรจำกัด, เครื่องเมนเฟรม (Main Frame) และซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) อัตราการเติบโตของ ยูนิกซ์อยู่ในระดับสูง ทั้งนี้เพราะความสามารถ, ความคล่องตัว และความง่าย ในการใช้งาน อีกทั้งเครื่องมือต่างๆ มากมายที่ระบบยูนิกซ์มีไว้ให้สำหรับ ผู้ใช้งาน Tuesday, September 18, 2018 *

38 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
* 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System ระบบยูนิกซ์สร้างขึ้นมาในช่วงปลายทศวรรษ 1960 เพื่อให้ทำงานกับเมนเฟรม เป้าหมายของการออกแบบที่วางไว้กว้างและคำสั่งที่ออกแบบมาก็จะไม่ใช่เพื่อ แก้ปัญหาทุกกรณี คำสั่งต่างๆ จะออกแบบให้ทำงานใดงานหนึ่งซึ่งเป็นงาน เล็กๆ เพียงงานเดียว ทำให้ทำงานได้ดีและเร็ว เช่น คำสั่งเพื่อแสดงข้อมูลใน แฟ้ม จะไม่ทำเกี่ยวกับการจัดหน้า หรือการพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์จะมีคำสั่งที่ ทำหน้าที่ย่อยๆ เหล่านี้อีกต่างหาก ลักษณะเด่นยูนิกซ์ การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต้นไม้ (Tree) แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนทิศทางของอินพุต/เอาท์พุต (I/O Redirectional) การทำกระบวนการแบบขนาน (Pipe Process) เป็นที่ยอมรับและใช้ในระบบปฏิบัติการอื่นๆ ด้วย การเรียนรู้เกี่ยวกับยูนิกซ์จึง เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ นอกจากนี้การที่ยูนิกซ์เป็น ระบบปฏิบัติการที่มีใช้อย่างกว้างขวางในเครื่องทุกระดับ การเรียนรู้เกี่ยวกับยูนิกซ์ จึงมีประโยชน์มาก Tuesday, September 18, 2018 *

39 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
ยูนิกซ์ตระกูลหลักๆ ได้แก่ System V ซึ่งเป็นระบบยูนิกซ์ที่พัฒนาขึ้นใน Bell Labs และ Berkeley Unix ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า BSD (มาจากคำเต็มว่า Berkeley Software Distribution) ในวงการวิจัยและการศึกษาส่วนใหญ่จะใช้ระบบยูนิกซ์หนึ่งในสองระบบนี้หรือทั้ง สองระบบเป็นพื้นฐาน Tuesday, September 18, 2018

40 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
ตารางแสดงถึงชื่อของระบบยูนิกซ์ที่พบเห็นได้ทั่วไป วโรดม วีระพันธ์. (2543) Tuesday, September 18, 2018

41 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
LINUX ในระยะแรก Linux ถูกพัฒนาเพื่อเป็นงานอดิเรก โดยผู้เริ่มพัฒนาได้แรงบันดาลใจมาจากระบบมินิกซ์ (Minix) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการแบบคล้าย UNIX ขนาดเล็ก การพัฒนาในระยะแรกจะมุ่งไปที่ความสามารถในการสลับการทำงานระหว่างโพรเซส (Task-Switching) ของหน่วยประมวลผลกลาง โดยโปรแกรมทั้งหมดถูกเขียนขึ้นด้วยภาษาแอสเซมบลีภายหลังได้เริ่มเปลี่ยนมาใช้ภาษา C ซึ่งช่วยพัฒนาเป็นไปได้เร็วขึ้นกว่าเดิมมาก Linux ถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1991 (พ.ศ.2534) ในรุ่น ที่ University of Helsinki ประเทศ Finland โดยนักศึกษา (ในขณะนั้น) ที่ชื่อ Linus B. Torvalds และถูกแจกจ่ายให้ทดลองใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ตัว Kernel ของ Linux ไม่ได้ใช้ส่วนใดๆ จากระบบ Unix ของบริษัท AT&T หรือระบบปฏิบัติการ UNIX อื่นใด Tuesday, September 18, 2018

42 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ที่พัฒนาขึ้นมาโดยอาศัยแนวทางของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (Unix) ทำงานได้แบบหลายงานพร้อมกัน (Multitasking) ใช้พร้อมกันได้หลายคน (Multiuser) สนับสนุนการทำงานแบบหลายหน่วยประมวลผล (Multiprocessor) สามารถแสดงผลได้ทั้งแบบอักขระ (Text mode) และแบบกราฟิก (Graphic mode) ในทำนองเดียวกับไมโครซอฟท์วินโดวส์ที่เรียกกันว่า เอ็กซ์วินโดว (X Window) มีระบบเน็ตเวิร์กแบบทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ที่ใช้เป็นมาตรฐานของอินเตอร์เน็ตมาให้ในตัว Tuesday, September 18, 2018

43 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
จุดเด่นที่น่าสนใจ เป็น NOS ที่ใช้งานได้ฟรี(หรือราคาถูกมาก) ใช้งานกับเครื่องที่มีความเร็วในการประมวลผลต่ำ (เครื่อง ก็ใช้ได้) มีประสิทธิภาพและมีเสถียรภาพสูง สามารถใช้งานร่วมกับ NOS อื่นๆ ได้ และใช้แฟ้มข้อมูลร่วมกันได้ ถือเป็นระบบปฏิบัติการแบบ Open Source Code (ไม่ถูกจำกัดสิทธิ์ในการ Copy/แก้ไข, นักพัฒนาโปรแกรมทั่วโลกช่วยกันตรวจสอบข้อบกพร่อง, ห้ามซื้อขาย, สนับสนุนการศึกษา/พัฒนาโปรแกรม) Tuesday, September 18, 2018

44 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System
การสนับสนุนฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงยังไม่ครอบคลุม ใช้ได้เฉพาะบางอุปกรณ์ที่ผู้ใช้ Linux พัฒนาโปรแกรมขึ้นมาควบคุม แต่เนื่องจากเคอร์เนลของ Linux มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องดังนั้นก็มีโอกาสที่ใช้อุปกรณ์นั้นได้ในอนาคต Tuesday, September 18, 2018

45 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Peripherals (อุปกรณ์รอบข้าง)
หมายถึง อุปกรณ์รอบข้าง, อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย และควบคุมโดยเครือข่าย Printer : Print Server, Share Printer Modem Projector UPS etc Tuesday, September 18, 2018

46 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC (LAN Adapters)
Tuesday, September 18, 2018

47 * 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC (LAN Adapters) NIC เรียกง่ายๆ ว่า การ์ดแลน เป็นแผงวงจรสำหรับใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย (File Server) และเครื่องที่เป็นลูกข่าย (Workstations) NIC ทำหน้าที่แปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้ Tuesday, September 18, 2018 *

48 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC
ปัจจุบันการ์ดที่เป็นที่นิยม ใช้เทคโนโลยี Ethernet (IEEE 802) โดยมีระบบรับส่งข้อมูลแบบ PCI มีการเชื่อมต่อกับสายสัญญาณแบบ RJ-45 และ BNC หรือเรียกว่าอีเธอร์เน็ตตามมาตรฐาน 10 BaseT กรณีวิ่งด้วยความเร็ว 10 Mbps หรือ 100 BaseTX กรณีวิ่งด้วยสัญญาณ 100 Mbps Tuesday, September 18, 2018

49 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC - (LAN Adapters)
ตัวอย่าง Lan card แบบต่างๆ 32-bit Bus mastering 10/100Mbps PCI Bus Model: TR-4016PNP Standards: IEEE 802.2, IEEE Bus Architecture: 16/8-Bit ISA Connector: DB-9 Female and RJ Data Transfer Rate: 4/16 Mbps Duplex Mode: n/a Cables: IBM Type 1 STP for DB-9 connector, IBM Type 3 UTP for RJ-45 Tuesday, September 18, 2018

50 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC - (LAN Adapters)
ตัวอย่าง NIC ที่มี 3 connectors ทำไมต้องทำแบบ 3 connectors ด้วย Tuesday, September 18, 2018

51 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC - (LAN Adapters)
Tuesday, September 18, 2018

52 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC - (LAN Adapters)
ตัวอย่าง PCMCIA (for laptops): Tuesday, September 18, 2018

53 * 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Interface Card - NIC (LAN Adapters) ข้อควรพิจารณาในการเลือกซื้อการ์ดเครือข่าย ความเร็วที่ต้องการ (Data Transfer Rate 4/16Mbps) มาตรฐานที่สนับสนุน (IEEE 802.2, 802.5) ไดรเวอร์ที่สนับสนุน คุณสมบัติ Plug & Play ระบบการรับ-ส่งข้อมูล (Bus Architecture ISA, PCI) อื่นๆ (Duplex Mode, Connector) Tuesday, September 18, 2018 *

54 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Cabling
* 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Cabling Tuesday, September 18, 2018 *

55 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Cabling
เครือข่ายคอมพิวเตอร์นอกจากจะประกอบขึ้นจากการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายแล้ว ยังต้องมีช่องทางหรือ สื่อกลาง (Media) ในการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งในปัจจุบันจะมีอยู่มากมายหลายแบบ และแต่ละแบบก็จะมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป (วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่, 2546) Tuesday, September 18, 2018

56 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Cabling : แนวคิด
ปิยะ สมบุญสำราญ และไพโรจน์ ไววานิชกิจ. (2546). สายนำสัญญาณ ทำหน้าที่นำข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปสู่อีกเครื่องหนึ่ง โดยข้อมูลซึ่งเป็นดิจิตอล จะได้รับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบให้เหมาะสมสำหรับส่งผ่านสายนำสัญญาณแต่ละชนิด จุดประสงค์ที่สำคัญของการออกแบบสายนำสัญญาณเพื่อทำให้สามารถส่งสัญญาณได้ในอัตราเร็วสูง ไปได้ในระยะทางไกลๆ โดยไม่ทำให้เกิดสัญญาณรบกวนกับข้อมูลที่ส่งไป หรือเกิดการรบกวนไม่มากจนไม่สามารถตีความข้อมูลได้ Tuesday, September 18, 2018

57 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Cabling : แนวคิด
(วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่, 2546) สิ่งที่จะต้องคำนึงในการเลือกช่องทางที่ต้องการ คือ อัตราเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission Rate) อาจเลือกได้ตั้งแต่ความเร็วอยู่ในหลัก Kbps (กิโลบิตต่อวินาที) จนถึงหลายสิบ Mbps (เมกะบิตต่อวินาที) ระยะทาง (Distance) จะต้องคำนึงถึงระยะทางระหว่างอุปกรณ์ที่ต้องการเชื่อมต่อกันด้วย โดยอาจห่างกันตั้งแต่ไม่กี่ฟุตจนถึงหลายพันกิโลเมตร ค่าใช้จ่าย (Cost) อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งครั้งแรกและค่าใช้จ่ายประจำ ความสะดวกในการติดตั้ง (Easy of Installation) เนื่องจากบางพื้นที่อาจไม่สะดวกที่จะเดินสาย หรือไม่อาจใช้สื่อบางประเภทได้ ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม (Resistance to Environmental Conditions) เช่นสื่อบางประเภทอาจมีข้อจำกัด เมื่อสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลง ในการใช้งานจริงนั้น จะสามารถใช้งานช่องทางต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งช่องทางพร้อมๆ กันขึ้นกับความเหมาะสม Tuesday, September 18, 2018

58 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : (2) Software Network
* 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : (2) Software Network นักศึกษาคิดว่าการใช้ทรัพยากรร่วมกัน จำเป็นต้องมีกฎกติกา ร่วมกันหรือไม่ ตัวอย่างในกรณีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ภาควิชา นักศึกษาคิดว่าน่าจะมีกฎกติกา อะไรบ้าง ผู้มีสิทธิการเข้าใช้ ระยะเวลา สิทธิการใช้ทรัพยากร ระดับของผู้ใช้ หน้าที่ของผู้ใช้ การรักษาความปลอดภัย คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเป็นระบบเครือข่าย จึงมีความจำเป็นต้องมี OS โดยเฉพาะแตกต่างจากคอมพิวเตอร์ที่ไม่ได้เชื่อมโยง (PC standalone) Tuesday, September 18, 2018 *

59 * 07/16/96 องค์ประกอบอื่นๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Network Operating System (NOS) NOS เป็น OS หรือระบบปฏิบัติการคนละแบบกับ OS ของ PC เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบโดยเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่ควบคุม และจัดการ การติดต่อสื่อสารระหว่างเครือข่าย ระบบตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้ สิทธิในการใช้ทรัพยากร (file, Printer, Data, Storage) ร่วมกัน ระบบรักษาความปลอดภัย ตัวอย่าง NOS : Novell NetWare, Unix, LINUX, OS/2 LAN Server, LANtastic, Windows NT Server, Windows 2000 Tuesday, September 18, 2018 *

60 คำถาม ??? Tuesday, September 18, 2018

61 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย (Network Connection Components)
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย (Network Connection Components) Repeaters Bridges Routers Gateways Hub Tuesday, September 18, 2018 *

62 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Repeater
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Repeater (1) อุปกรณ์ที่ใช้ขยายสัญญาณในสายให้สามารถส่งไปได้ไกลมากขึ้น Repeater โดยไม่พิจารณาข้อมูลที่ผ่านตัวมันเลยว่าจะมี Topology หรือ Protocol ที่แตกต่างกัน (2) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ LAN หลายๆ Segment ให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยใช้วิธีการทวนสัญญาณทางไฟฟ้าของแต่ละ Segment ให้มีสัญญาณแรงขึ้นแล้วส่งออกไป ซึ่งถือได้ว่า Repeater ทำงานอยู่ในลำดับชั้น Physical Layer ของ OSI Model เท่านั้น 1. Tuesday, September 18, 2018 2. *

63 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Repeater
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Repeater Tuesday, September 18, 2018 *

64 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย :Bridges
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย :Bridges เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ LAN ทำให้ 2 ข่ายงาน สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ แม้ว่าข่ายงานทั้งสอง จะมี Topology ที่แตกต่างกัน หรือใช้กฎเกณฑ์การสื่อสาร (Protocol) ที่ต่างกันก็ตาม (กิดานันท์ มลิทอง, 2539). Tuesday, September 18, 2018 *

65 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย :Bridges
มีหน้าที่ในการส่งข้อมูลจาก LAN1 ไปยัง LAN2 หรือจาก LAN2 ไปยัง LAN1 Bridges ไม่มีการแก้ไขข้อมูลที่รับ-ส่ง มี Buffer เพื่อความรวดเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล สามารถจัดตำแหน่งและจัดทิศทางการไหลของข้อมูลได้ (นฤมล, ) Tuesday, September 18, 2018

66 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย :Bridges
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย :Bridges เป็นการใส่ LAN Card 2 ใบ ที่เป็นระบบ Ethernet ใส่ลงใน PC หนึ่งเครื่อง กลายเป็น 2 LAN Card ใน PC เครื่องเดียวกัน จากนั้นเชื่อมสายจาก LAN อีกวงหนึ่งมาที่ LAN Card ตัวใหม่ของ PC เครื่องนี้ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า “Bridge” (กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, 2540). Tuesday, September 18, 2018 *

67 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Router
Tuesday, September 18, 2018

68 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Router
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Router เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกันคล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการทำงานที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตาราง เส้นทางเรียกว่า Rounting Tuesday, September 18, 2018 *

69 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย: Routers
ทำหน้าที่ในการเชื่อมโยง Subnetwork ทำหน้าที่รับส่งข้อมูลข้ามเครือข่าย มีการจัดตำแหน่ง ,การแปลงรหัส และจัดเส้นทางของข้อมูลไปยังปลายทางให้ถูกต้อง สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายได้มากกว่า 2 เครือข่าย ที่มีลักษณะตแตกต่างกันได้ มีการเลือกเส้นทางให้ข้อมูลเดินทางถึงปลายทางสั้นที่สุด Tuesday, September 18, 2018

70 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย: Routers
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย: Routers ใช้เชื่อมต่อหลาย Network ให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ มีความสามารถในการอ่าน Frame ในลำดับชั้น Network Layer ได้ว่า Workstation ที่อยู่ใน Network หนึ่ง ต้องการส่งข้อมูลไปยัง Workstation ที่อยู่ในอีกNetwork หนึ่ง ส่วนใหญ่ Router จะใช้ในระบบ WAN เป็นการเชื่อมต่อ network หลายวงเข้าด้วยกันจึงจำเป็นต้องใช้ Router เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยหาเส้นทางที่ถูกต้อง นฤมล. (2546) Tuesday, September 18, 2018 *

71 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Gateways
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Gateways Gateway เป็นกระบวนการทางซอฟท์แวร์ เพื่อทำหน้าที่เชื่อมต่อ 2 เครือข่ายที่มีสถาปัตยกรรมต่างกัน มีความสามารถในการแปลงข้อมูลระหว่างเครือข่ายที่มีโปรโตคอลแตกต่างกัน โดยทั่วไปใช้ในการรับส่งข้อมูลระหว่าง LAN สองวงเข้าด้วยกัน หรือใช้ในการเชื่อมต่อ LAN กับ Mainframe หรือ LAN กับ WAN นฤมล. (2546) Tuesday, September 18, 2018 *

72 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub
ทำหน้าที่ผสมและกระจายสัญญาณข้อมูล นิยมใช้ในระบบ LAN (6-40 user) แบ่งเป็น Low cost HUB , Intelligent HUB ได้มาตรฐาน IEEE 802.3 มีช่องต่อสาย (Port) Tuesday, September 18, 2018

73 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub Hub เป็นอุปกรณ์กระจายสัญญาณ มี 2 ชนิด Share Hub กับ Switch Hub เรียกโดยทั่วไปว่า Hub กับ Switch Hub Share Hub ราคาถูกกว่า แต่ข้อเสีย คือ ความเร็วในการส่งข้อมูล จะเฉลี่ยลดลงเท่ากันทุกเครื่อง เมื่อมีคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อมากขึ้นถ้าเรานำ Hub ชนิดเดียวกันต่อกัน จะทำให้การส่งข้อมูลช้าลงไป 50% โดยประมาณ Tuesday, September 18, 2018 *

74 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub Switch Hub เป็น Hub ที่มีประสิทธิภาพสูง ลักษณะเด่น การ Switching time สำหรับการรับ-ส่งข้อมูลเพื่อให้แต่ละ Port ซึ่งจะทำให้ได้ความเร็วที่เท่าๆ กัน การแบ่งแยก IP ออกเป็นส่วนๆ (Segment) เพื่อกำหนดว่าจะติดต่อกับ Server ได้ที่ Port ใด และแบ่งว่าแต่ละจุดที่เชื่อมต่อสามารถวิ่งได้ที่ความเร็วเท่าใด Tuesday, September 18, 2018 *

75 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub
* 07/16/96 อุปกรณ์การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย : Hub Tuesday, September 18, 2018 *

76 การเชื่อมต่อ Hub (วารา วาราวิธยา, 2544) HUB HUB HUB HUB HUB
(วารา วาราวิธยา, 2544) Tuesday, September 18, 2018

77 PRODUCT RANGE (เพื่อความเข้าใจระบบเครือข่าย)
ตัวอย่างรายการผลิตภัณฑ์จากบริษัท LAN - 3COM Hub, Switching and NIC - Cabletron Hub, Switch - INTEL Hub, Switch - D-LINK Hub - SMC Hub and NIC WAN - CISCO Router - 3COM Router, Switching - XYLAN, ALCATEL Switching - INTEL Router, Switching ATM - 3COM ATM Switch - XYLAN ATM Switch - FORE ATM Switch - Newbridge ATM Switch คำถาม ทำไมไม่มีอุปกรณ์สำหรับ MAN, Internetwork CABLING - AMP UTP, Fiber Optic and connectors - Lucent UTP, Fiber Optic and connectors - BELDEN UTP and Fiber Optic and Coaxial - Krone UTP and Fiber Optic and Coaxial ACCESSORIES - RACK EQUIPMENT PERIPHERAL PRODUCTS - MODEM - UPS - PRINTER - ETC. Tuesday, September 18, 2018

78 ระบบเครือข่ายจำเป็นต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่
* 07/16/96 คำถาม ระบบเครือข่ายจำเป็นต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่ Tuesday, September 18, 2018 *

79 คำตอบ ระบบเครือข่ายบางแห่ง ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เลย
ปิยะ สมบุญสำราญ และไพโรจน์ ไววานิชกิจ ( 2545) อธิบายว่า ระบบเครือข่ายบางแห่ง ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เลย อาจมี Router, Modem และอุปกรณ์อื่นๆ ก็ได้ แต่คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่สะดวกที่สุดในการควบคุมอุปกรณ์อื่นๆ เช่น Router, Hub, Modem ล้วนแล้วแต่ควบคุมด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น เครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเป็นอุปกรณ์สำคัญของระบบเครือข่าย ในแง่ของการเชื่อมต่อระบบ และความสามารถในการควบคุมอุปกรณ์อื่นๆ Tuesday, September 18, 2018

80 คำถาม ถามบ้างก็ดีนะครับ Tuesday, September 18, 2018

81 คำถาม 1. การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย น่าจะมีประโยชน์ต่อห้องสมุด, ศูนย์สารสนเทศ ประโยชน์ของ Computer Network ที่มีต่อห้องสมุด 2. ข้อดี-ข้อเสียของ Network Topologies ทั้ง 5 แบบ Tuesday, September 18, 2018

82 ข้อมูลเพิ่มเติม : Client-Servers
* 07/16/96 ข้อมูลเพิ่มเติม : Client-Servers การใช้ทรัพยากรเครือข่าย (Resources : Harddisk, Printer, CD-ROM บางส่วนติดตั้งที่ Server, บางส่วนเป็นอุปกรณ์แยกต่างหาก) สามารถกำหนดสิทธิอนุญาตให้ใช้โดย Server ได้ Advantages of a client/server network: Centralized - Resources and data security are controlled through the server. Scalability - Any or all elements can be replaced individually as needs increase. Flexibility - New technology can be easily integrated into system. Interoperability - All components (client/network/server) work together. Accessibility - Server can be accessed remotely and across multiple platforms. Disadvantages of a client/server network: Expense - Requires initial investment in dedicated server. Maintenance - Large networks will require a staff to ensure efficient operation. Dependence - When server goes down, operations will cease across the network. Tuesday, September 18, 2018 *

83 ข้อมูลเพิ่มเติม : Client-Servers
เป็นการจัดการระบบเครือข่ายโดยให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 ประเภท เครื่องแม่ข่าย (Server) : ทำหน้าที่ตอบรับคำร้อง (response) จาก Client เครื่องลูกข่าย (Client) : ส่งคำร้อง (request) ไปยัง Server Server และ Client แม้จะดูว่าเครื่องไม่แตกต่างกันนัก แต่สิ่งที่ต่างกัน คือ ประสิทธิภาพของ Hardware, Software, การทำหน้าที่ Tuesday, September 18, 2018

84 ข้อมูลเพิ่มเติม : Client-Servers
ตัวอย่าง Software บนเครื่อง Server : ระบบปฏิบัติการ Netware, Unix, Linux, Windows NT, Windows 2000 ข้อดี Server : การขยายขนาดระบบแบบไม่จำกัด ใช้งานได้สารพัด ข้อเสีย Server : ราคาของ Server ผู้จัดการระบบต้องมีความเชี่ยวชาญ Tuesday, September 18, 2018

85 ข้อมูลเพิ่มเติม : Client-Servers
มีความเป็นศูนย์กลาง ทรัพยากรและความปลอดภัยของข้อมูล ถูกควบคุม ผ่าน Server การเพิ่ม User และอุปกรณ์ที่จะแบ่งปันให้ User ทำได้ง่าย มีความยืดหยุ่นในการพัฒนาระบบและนำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้งาน ทุก ส่วนประกอบสามารถทำงานร่วมกันได้โดยถึง Server จากระยะไกล ข้อเสียของระบบแบบ client/server ลงทุนสูงในการจัดหา Server ต้องมีการบำรุงรักษาที่ดี โดยเฉพาะระบบที่ต้องการความน่าเชื่อถือสูงๆ เมื่อ Server หยุดการทำงานหรือเสีย ทำให้เครื่องที่เป็นสถานีงานไม่สามารถทำงานกับระบบได้ Tuesday, September 18, 2018

86 ข้อมูลเพิ่มเติม : Peer-to-Peer Network
* 07/16/96 ข้อมูลเพิ่มเติม : Peer-to-Peer Network คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง มีสิทธิในการอนุญาตให้/ไม่ให้ใช้ทรัพยากรเครือข่าย (Resources : file, CD-ROM ที่ติดตั้งในแต่ละเครื่อง) อย่างเท่าเทียมกัน ข้อดีของ peer-to-peer network: Less initial expense - No need for a dedicated server. Setup - An operating system (such as Windows 95) already in place may only need to be reconfigured for peer-to-peer operations. ข้อไม่ดี : Decentralized - No central repository for files and applications. Security - Does not provide the security available on a client/server network. Tuesday, September 18, 2018 *

87 ข้อมูลเพิ่มเติม : Peer-to-Peer Network
ทุกเครื่องมีสิทธิ์ในการ request และ response ข้อมูลหรือบริการจากเครื่องอื่น อาจทำหน้าที่เป็นทั้ง Client และ Server ในเวลาเดียวกัน ตัวอย่าง OS : Windows 95, Windows for Worksgroup สามารถใช้เครื่อง PC เชื่อมต่อกันเป็นระบบได้โดยตรง Tuesday, September 18, 2018

88 ข้อมูลเพิ่มเติม : Peer-to-Peer Network
ประหยัด ลงทุนน้อย เพราะไม่ต้องใช้เครื่องที่มีสมรรถนะสูงซึ่งมีราคาแพงมาใช้เป็น Server ติดตั้งและใช้งานได้ง่าย รวดเร็ว เพราะตั้งค่าการทำงานของระบบได้ง่ายตัวอย่างเช่นการตั้งค่า Windows95/98 เพื่อใช้งาน ไม่ต้องการดูแล รักษามากนัก Tuesday, September 18, 2018

89 ข้อมูลเพิ่มเติม : Peer-to-Peer Network
ไม่มีผู้ควบคุมและรับผิดชอบไฟล์และ แอปพลิเคชั่นโดยตรง ไม่มีการรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูล ขนาดของเครือข่ายมีขนาดจำกัด Share file และ Printer เท่านั้น, Tuesday, September 18, 2018

90 Referance กิดานันท์ มลิทอง คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต มัลติมีเดีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. (2540). สร้างและพัฒนาระบบ LAN ปฏิบัติได้จริง. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, (2546) ระบบปฏิบัติการเครือข่าย. ค้นข้อมูล 31 มีค.46 จาก http :// .th/main/Subject/325104/Chap4.ppt แชทท์, สแตน เรียนรู้และเข้าใจการทำงาน Local Area Networks. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. เดอร์เฟลอ, แปรงค์ เจ., นำทางสู่การเชื่อมโยงเครือข่าย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. เทเนนบาม, แอนดรูว์ Computer Networks: คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ด ดูเคชั่น อินโดไชน่า. Tuesday, September 18, 2018

91 Referance นฤมล. (2546) การประมวลผลข้อมูลและสารสนเทศ ค้นข้อมูล 30 มีค.46 จาก http :// / wlc / naruemon /CS101/ Doc /chapter4.ppt ปัทมาภรณ์ พิมพ์หานาม. (2546). Internet. ค้นข้อมูล 2 เมย.46. จาก ปิยะ สมบุญสำราญ. (2545). ศาสตร์และศิลปะในการติดตั้งระบบเครือข่ายชั้นเซียน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ปิยะ สมบุญสำราญ และไพโรจน์ ไววานิชกิจ. (2546). ศาสตร์และศิลปะในการติดตั้งระบบเครือข่ายชั้นเซียน 2. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. พิพัฒน์ หิรัณย์วณิชชากร. (2542). ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ , ซีเอ็ดยูเคชั่น. ภาสกร เรืองรอง. (2546). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network, LAN). ค้นข้อมูล 28 มีนาคม จาก Tuesday, September 18, 2018

92 Referance ภัทระ เกียรติเสวี. (2542). เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร Linux-SIS. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. (2546). หลักการสื่อสารเบื้องต้น. ค้นข้อมูล 1 เมย.46 จาก http ://www .sau .ac .th /main /Subject /cs442 /chap1_2 .ppt วารา วาราวิธยา. (2544). การเข้าใช้เครือข่ายร่วม. ค้นข้อมูล 30 มีค.46. จาก วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่. (2546) Computer Software. ค้นข้อมูล 1 เมย.46 จาก e-learning/51-111/Document/ Tuesday, September 18, 2018

93 Referance ศักดา จันทร์ประเสริฐ. (2545). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. ค้นข้อมูล 18 มี.ค.46, จาก ศาสตรา   วงศ์ธนวสุ. (2546). อินเตอร์เน็ต (Internet). ค้นข้อมูล 2 เมย.46. จาก comsc3.kku.ac.th/course/320111/internet.ppt สมนึก คีรีโต, สุรศักดิ์ สงวนพงษ์ และสมชาย นำประเสริฐชัย. (2521). เปิดโลกอินเทอร์เน็ต. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. อภิรดี (2546) วิชา Computer Networking ค้นข้อมูล 31 มีค จาก /lesson5.html โฮมเพจชุดวิชา. (2545). ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ค้นเมื่อ 28 มี.ค จาก Tuesday, September 18, 2018

94 Reference Digital Library for SchoolNet. ค้นข้อมูล 18 มี.ค.46, จาก snet1.htm The Florida Center for Instructional Technology College of Education, University of South Florida Chapter5 Topology. Retrived March, 19, From World ORT Topology Ring. Retrived March, 19, From Tuesday, September 18, 2018


ดาวน์โหลด ppt 2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topologies)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google