งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 โมเดิร์น OS.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 โมเดิร์น OS."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 โมเดิร์น OS

2 สารบัญ ความหมายของซอฟต์แวร์ ประเภทของซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ
การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม โปรแกรมอรรถประโยชน์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

3 Hardware และ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

4 ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทหนึ่ง การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำสิ่งต่างๆ ได้นั้น มีส่วนสำคัญอยู่ 2 ประการคือ Hardware (ฮาร์ดแวร์) Software (ซอฟต์แวร์) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

5 Hardware (ฮาร์ดแวร์) Hardware (ฮาร์ดแวร์) ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรม สามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ (เช่น RAM) คีย์บอร์ด เม้าส์ เครื่องพิมพ์ สาย LAN Router บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

6 Software (ซอฟต์แวร์) Software (ซอฟต์แวร์) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน หมายถึง ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

7 ความแตกต่างระหว่าง Software และ Hardware
ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ เป็นชุดคำสั่ง สัมผัสไม่ได้(นามธรรม) เป็นอุปกรณ์ สัมผัสได้ (รูปธรรม) เมื่อทำงานบนฮาร์ดแวร์แล้ว จะสั่งให้ฮาร์ดแวร์เริ่มทำงานเพื่อคิดคำนวณและทำงานเฉพาะอย่าง ใช้เก็บซอฟต์แวร์ และจำเป็นต้องมีเพื่อที่จะให้ซอฟต์แวร์ทำงาน ไม่เสื่อมตามเวลา เสื่อมตามอายุการใช้งาน บทที่ 4 โมเดิร์น OS

8 ประเภทของซอฟต์แวร์ บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

9 ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ (System software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้งาน บทที่ 4 โมเดิร์น OS

10 ประเภทของซอฟต์แวร์ (ต่อ)
Software System Application Operating Systems Utilities Basic Specialized บทที่ 4 โมเดิร์น OS

11 ระบบปฏิบัติการ (OperatingSystems)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

12 ระบบปฏิบัติการ เป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมจัดการฮาร์ดแวร์
ทำหน้าที่ในการเชื่อมการทำงานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ จัดการกระบวนการใช้ทรัพยากรระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และฮาร์ดแวร์ เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับฮาร์ดแวร์ ผู้ใช้งาน ระบบปฏิบัติการ ฮาร์ดแวร์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

13 ระบบปฏิบัติการ (ต่อ) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

14 ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการของเครื่องแต่ละชนิด
ชนิดของเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เครื่อง Mainframe z/OS, z/VM, z/VSE, z/TPF เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) Windows, OS X, Ubuntu, Chrome OS โทรศัพท์สมาร์ทโฟน Android, iOS, Windows Phone Raspberry Pi NOOBS, Raspbian, OSMC, Windows 10 IOT, RISC OS บทที่ 4 โมเดิร์น OS

15 ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน PC
ระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน PC บทที่ 4 โมเดิร์น OS

16 ประโยชน์ของระบบปฏิบัติการ
ใช้งานง่าย และรวดเร็ว ใช้งานโปรแกรมได้พร้อมกันหลาย ๆ โปรแกรมได้ (Multitasking) ผู้ผลิตโปรแกรมสำหรับใช้งานเฉพาะด้านทำงานง่ายขึ้น บทที่ 4 โมเดิร์น OS

17 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ
ช่วงแรกของระบบปฏิบัติการ (1955) ต้นทุนสูง ค่าแรงของคนมีราคาต่ำ ผู้ใช้เข้าถึงเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ทีละคน (Single-user system) ประมวลผลแบบต่อเนื่อง (Batch processing) เก็บหลาย ๆ งานในหน่วยความจำ สลับให้หน่วยประมวลผลมาทำงานแต่ละงาน บทที่ 4 โมเดิร์น OS

18 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ช่วงที่สองของระบบปฏิบัติการ (1970) ต้นทุนปานกลาง ค่าแรงของคนสูงขึ้น ระบบปฏิบัติการชื่อ TSS/360 ทำงานบนเครื่องเมนเฟรม อนุญาตให้คนเข้าใช้เครื่องได้พร้อม ๆ กัน (Timesharing) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

19 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) ต้นทุนถูกลง ค่าแรงของคนสูง IBM ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบปฏิบัติการชื่อ MS-DOS ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก บทที่ 4 โมเดิร์น OS

20 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) หลังจากนั้น Apple ได้แนะนำเครื่อง Macintosh ระบบปฏิบัติการ Mac OS กราฟิกสำหรับผู้ใช้สั่งงาน (Graphical User Interface) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

21 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) ปี 1983 Richard Stallman เริ่มโครงการ GNU เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สมบูรณ์ แจกฟรี บทที่ 4 โมเดิร์น OS

22 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) เมื่อปี 1985 Intel ผลิตหน่วยประมวลผล Intel 80386 โปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมทำงานได้พร้อม ๆ กัน (Multitasking OS) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

23 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) ในปี 1991 Linus Torvalds กับเพื่อน ๆ นำเสนอเคอร์เนลรุ่นแรกของระบบปฏิบัติการ Linux โดยเปิดเผยคำสั่งภายในทั้งหมด ภายหลังได้รวมกับซอฟต์แวร์ระบบของ GNU บทที่ 4 โมเดิร์น OS

24 ระบบปฏิบัติการ Unix ใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้งานร่วมกันหลายราย (multiusers) โปรแกรมระบบนี้เขียนด้วยภาษาซี พัฒนาขึ้นโดยศูนย์วิจัยเบลล์ของบริษัท TT&T เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 1960 ใช้ได้ทั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (ชนิด 32 บิต) มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม บทที่ 4 โมเดิร์น OS

25 ระบบปฏิบัติการ BSD พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ใช้กันแพร่หลายสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับเวิร์คสเตชัน ปัจจุบันมีการปรับปรุงและพัฒนาโดยใช้โอเพนซอร์สโค้ดของบีเอสดีเป็นแกนหลัก สามารถมาลงกับ pc ทั่วไปและใช้งานเป็น server กันอย่างแพร่หลาย FreeBSD NetBSD บทที่ 4 โมเดิร์น OS

26 ระบบปฏิบัติการ Solaris
ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ แบบสปาร์ค และแบบ x86 รุ่นแรก ๆ ของโซลาริส ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูล BSD รุ่นที่ 5 เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ ซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) เปลี่ยนชื่อเป็น โซลาริส บทที่ 4 โมเดิร์น OS

27 ระบบปฏิบัติการ Linux ระบบปฏิบัติการลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการ 32 บิต
มีลักษณะเป็น multitasking และ multi-user มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ในทั้งสองรูปแบบ คือ Command line และ GUI จุดเด่น สามารถใช้ได้ในหลายแพลตฟอร์ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่จำเป็นต้องซื้อ (open source) สามารถดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ตได้โดยตรง ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องซอฟต์แวร์ ส่วนแบ่งทางการตลาดของระบบปฏิบัติการลินุกซ์จะอยู่ที่ 3% ในส่วนของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 25% ในส่วนของการใช้ในเครื่องแม่ข่าย บทที่ 4 โมเดิร์น OS

28 ระบบปฏิบัติการ Linux Linux Command Line Linux GUI บทที่ 4 โมเดิร์น OS

29 ระบบปฏิบัติการ Windows
พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ นิยมใช้มากที่สุด ครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมากกว่า 90% ระบบปฏิบัติการตัวแรก คือ MS-DOS ไม่มีภาพกราฟิก ใช้การพิมพ์คำสั่งเข้าไป บทที่ 4 โมเดิร์น OS

30 ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ)
คำสั่งที่ผู้ใช้ป้อน ผลลัพธ์ ระบบปฏิบัติการ MS-DOS บทที่ 4 โมเดิร์น OS

31 ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ)
จากนั้นได้ออกระบบปฏิบัติการที่มีรูปภาพกราฟิก (GUI) สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกัน (Multitasking) ผู้ใช้งานคนเดียว (Single User) เช่น Windows XP , Windows NT, Windows 7, Windows 8, Windows 10 บทที่ 4 โมเดิร์น OS

32 ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ)
Windows XP Windows NT บทที่ 4 โมเดิร์น OS

33 ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ)
Windows Windows 10 บทที่ 4 โมเดิร์น OS

34 ระบบปฏิบัติการ Mac เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (Macintosh) ของบริษัท Apple ใช้ระบบปฏิบัติการชื่อว่า แมคโอเอส เท็น (Mac OS X) กำเนิดจากระบบปฏิบัติการ UNIX เน้นการสร้างมัลติมีเดียสิ่งพิมพ์ ภาพ เสียง วิดีโอ ลักษณะการทำงานมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้เป็น GUI มีลักษณะเป็น multi-tasking และ multi-user บทที่ 4 โมเดิร์น OS

35 ระบบปฏิบัติการ Mac (ต่อ)
Mac OS X บทที่ 4 โมเดิร์น OS

36 ระบบปฏิบัติการ iOS ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา พัฒนาโดยบริษัท Apple
ระบบปฏิบัติการแบบ Single OS ไอโฟน, ไอพอดทัช, ไอแพด มีแอพพลิเคชั่นมากมายที่ให้ดาวน์โหลด ไม่อนุญาตให้นำ iOS ติดตั้งบนอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ของแอปเปิล บทที่ 4 โมเดิร์น OS

37 ระบบปฏิบัติการ iOS (ต่อ)

38 ระบบปฏิบัติการ Android OS
ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ มีรากฐานมาจาก Linux จากนั้นกูเกิลได้ซื้อแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ โอเพนซอร์ส (Open Source) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

39 ระบบปฏิบัติการ Android OS (ต่อ)

40 ระบบปฏิบัติการ Windows Phone
พัฒนาโดยบริษัท Microsoft เป็นทางเลือกให้กับผู้ผลิตสำหรับนำไปใช้กับอุปกรณ์โมบาย ปัจจุบัน Microsoft ได้พัฒนา Windows 10 Mobile ถูกใช้แทน Windows Mobile และ Windows Phone บทที่ 4 โมเดิร์น OS

41 การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

42 การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม
ประเด็นต่าง ๆ ที่ควรคำนึงถึงก่อนเลือกระบบปฏิบัติการ เราเคยใช้ระบบปฏิบัติการมาบ้างหรือไม่ ? เราจะใช้ซอฟต์แวร์อะไรบนระบบปฏิบัติการ ? สังเกตเพื่อนร่วมงาน ครอบครัว หรือ เพื่อนที่โรงเรียนใช้อะไร ? เราต้องการระดับความปลอดภัยระดับใด ? เรามีงบประมาณเท่าไร ? บทที่ 4 โมเดิร์น OS

43 การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม (ต่อ)
การเปรียบเทียบคุณลักษณะในด้านต่าง ๆ ของแต่ละระบบปฏิบัติการ คุณลักษณะ Windows OS X Linux GUI ดีมาก ดี ความนิยม เป็นที่รู้จัก เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่าง แพร่หลายในประเทศไทย ปานกลาง เริ่มเป็นที่นิยม Virus มาก น้อย (เริ่มมากขึ้น) น้อย โปรแกรมสนับสนุน มีโปรแกรมที่ใช้เป็นมาตร ฐานอยู่มาก มีโปรแกรมหลากหลาย โปรแกรมที่ติดตั้งมาให้นั้น มีจำนวนมาก ครอบคลุมการใช้งาน แทบไม่ต้องเสียเงินซื้ออีก ปัจจุบันมีมากแล้ว ทำได้เหมือน Windows และ OS X บทที่ 4 โมเดิร์น OS

44 การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม (ต่อ)
การเปรียบเทียบคุณลักษณะในด้านต่าง ๆ ของแต่ละระบบปฏิบัติการ คุณลักษณะ Windows OS X Linux Games มาก น้อย ราคา (รวมเครื่องและ OS) มีหลายระดับ สูง ฟรี ถ้าไม่รวมเครื่อง ลิขสิทธิ์ ของ Microsoft ของ Apple ฟรี (Open Source) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

45 โปรแกรมอรรถประโยชน์ บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

46 โปรแกรมอรรถประโยชน์ คือโปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นโปรแกรมเสริมที่ต้องมีในเครื่องคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

47 โปรแกรมอรรถประโยชน์ ประเภทการจัดแฟ้มข้อมูล (File Manager)
โปรแกรมช่วยจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล เช่น การคัดลอก (Copy) การเปลี่ยนชื่อ (Rename) การแบ่งพาติชัน (Partition) การจัดรูปแบบดิสก์ (Format) File Manager บทที่ 4 โมเดิร์น OS

48 โปรแกรมอรรถประโยชน์ ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstall)
โปรแกรมที่ช่วยลบโปรแกรมออกจากระบบปฏิบัติการ ทำหน้าที่ตามเอาแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมที่ต้องการลบออกทั้งหมด เช่น Add/Remove Programs ในส่วน Control Panel ของ Microsoft Windows Uninstaller บทที่ 4 โมเดิร์น OS

49 โปรแกรมอรรถประโยชน์ Disk Cleanup Disk Defragmenter
โปรแกรมจัดการดิสก์ (Disk Utility) ใช้ในการจัดการปัญหาหรือแก้ไขให้ฮาร์ดดิสก์มีการทำงานที่ดีขึ้น เช่น Disk Cleanup คือ โปรแกรมกำจัดแฟ้มข้อมูลที่ไม่ต้องการจากเครื่อง Disk Defragmenter คือ โปรแกรมจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลในฮาร์ดดิส Disk Cleanup Disk Defragmenter บทที่ 4 โมเดิร์น OS

50 โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen Saver)
ช่วยรักษาอายุการใช้งานของจอคอมพิวเตอร์ให้มีอายุการใช้งานมากยิ่งขึ้น Screen Saver บทที่ 4 โมเดิร์น OS

51 โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมป้องกันไวรัส
ใช้ป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์และโปรแกรมอื่นที่เข้ามาสร้างความเสียหายให้กับระบบคอมพิวเตอร์ Anti-Virus บทที่ 4 โมเดิร์น OS

52 โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมบีบอัดแฟ้ม
ใช้ลดขนาดของไฟล์ เพื่อลดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ทำให้สามารถส่งไฟล์ทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ File Compression บทที่ 4 โมเดิร์น OS

53 คำถาม บทที่ 4 โมเดิร์น OS


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 โมเดิร์น OS.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google