งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย จากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล (Internal Performance Agreement : IPA) โดย นางปานจิต จินดากุล ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม

2 ลำดับการนำเสนอ ความหมาย/ที่มา
ขั้นตอนการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของระดับองค์กร สู่ระดับหน่วยงานและบุคคล การเขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ระดับหน่วยงาน การกำหนดตัวชี้วัดและรายละเอียด ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดของศูนย์ สำนัก กอง และกลุ่มงาน ฝึกปฏิบัติเขียนแผนที่และตัวชี้วัด

3 ความหมาย ระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล คือ เครื่องมือสำหรับใช้ในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อผลักดันให้เกิดการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม

4 กอง / สำนักงาน / กลุ่มงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน เกณฑ์ SP 5 : ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง) ทุกหน่วยงาน (ทั้งที่มีโครงสร้างรองรับตามกฎหมายและสำนัก/กองที่จัดตั้ง เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในส่วนราชการเอง) และระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 หน่วยงาน) อย่างเป็นระบบ ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์กรลงสู่ระดับหน่วยงาน (สำนัก/กอง/หรือเทียบเท่า) ทุกหน่วยงาน (ทั้งที่เป็นสำนัก/กอง/หรือเทียบเท่า ที่เป็นโครงสร้างซึ่งมีกฎหมายรองรับ หรือที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในส่วนราชการเอง) โดยมีวิธีการ/กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัด และเป้าหมาย จากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งรวมถึงมีการติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติราชการ และการประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงการจัดสรรสิ่งจูงใจที่เชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ระดับกรม ระดับสำนัก/ กอง / สำนักงาน / กลุ่มงาน ระดับบุคคลตามสายงาน

5 Balanced Scorecard กรอบการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประสิทธิผล โปร่งใส เป็นธรรม ประสิทธิภาพ ประหยัด เป็นเลิศ

6 กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2556
การประเมินคุณภาพ ( ร้อยละ 10 ) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ ผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ ผู้กำหนดนโยบาย การประเมินประสิทธิผล ( ร้อยละ 60 ) ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย ระดับกระทรวง กลุ่มภารกิจ (ถ้ามี) กรม มิติภายนอก มิติภายนอก ( ร้อยละ70 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) ขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ปรับปรุงสารสนเทศ ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ15) ต้นทุนต่อหน่วย สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน มิติภายใน (ร้อยละ30 ) มิติภายใน

7 คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมเจ้าท่า

8 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 10
ประเด็นการระเมินผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลัก ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุต่อนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมหรือเทียบเท่า และตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) (ถ้ามี) ระดับความสำเร็จของการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Readiness) หมายเหตุ - Aหมายถึง ตัวชี้วัดระดับกระทรวงที่เป็นภารกิจหลักของกรม - ส่วนราชการใดที่ไม่มีตัวชี้วัดที่ 1.3 ให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 1.2 60 (30+A) (27-A) (3) การประเมินคุณภาพ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 10

9 มิติภายใน 30 การประเมินประสิทธิภาพ ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2.5 ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงกระบวนการ 4 การพัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร 5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ รวม 100

10

11 ระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์:
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล ครอบคลุมถึง o การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) ระดับองค์กร และการแสดงให้เห็นถึงการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล มีการสื่อสาร ทำความเข้าใจอย่างทั่วถึงและภายในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้บุคลากรใน องค์กรทราบถึงวิธีการ/กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายจากระดับองค์กรสู่ ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลเพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถมีส่วนร่วม ในการดำเนินการตามระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายขององค์กร ได้อย่างถูกต้อง มีการผูกมัด (Commitment) ต่อความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรและมีความรับผิดชอบ ต่อผลงานที่ได้รับการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายมาอยู่ในความรับผิดชอบโดยตรง มีการจัดทำข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษรในทุกระดับ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด และเป้าหมาย รวมถึงเกณฑ์การประเมินผลความสำเร็จที่สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีระบบในการติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการและการประเมินผลสำเร็จตาม ตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ถ่ายทอดลงไปในแต่ละระดับ เพื่อติดตาม กำกับให้มีการดำเนินการ ให้บรรลุเป้าหมายโดยรวมขององค์การ

12 ขั้นตอนการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายในระดับต่างๆ
ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสปค./สรค. ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับ กรม สู่ระดับ สำนัก / กลุ่มภารกิจ / สถาบัน / กลุ่มงาน ระดับองค์กร ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก / กอง/สำนักงาน พร้อม รายละเอียดของตัวชี้วัด ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ระดับบุคคล ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้งรายละเอียด ของตัวชี้วัด

13 ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรม
คณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนจากทุกศูนย์ /สำนัก/กอง/กลุ่ม/ ร่วมกันทบทวนและทำความเข้าใจร่วมกันในวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดของสปค. ที่กำหนดไว้ในคำรับรองการปฏิบัติราชการ ซึ่งหากประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในคำรับรองการปฏิบัติราชการยังไม่ครบถ้วนตามบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบที่สปค.ดำเนินการอยู่จริง อาจจะกำหนดเพิ่มเติมได้ จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ที่แสดงถึงความเชื่อมโยงของแต่ละ เป้าประสงค์ที่กำหนดขึ้น

14 ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
ทบทวนและทำความเข้าใจร่วมกัน วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) เป้าประสงค์ (Goals) ตัวชี้วัด (KPIs) ค่าเป้าหมาย (Target) กลยุทธ์ (Strategy) กลยุทธ์ (Strategy) กลยุทธ์ (Strategy) โครงการ (Project) โครงการ (Project) โครงการ (Project) งบประมาณ (Budget) งบประมาณ (Budget) งบประมาณ (Budget)

15 ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกรมสู่ระดับ
สำนัก / กอง /สำนักงาน / กลุ่มงาน (การวางระบบประเมินผลระดับหน่วยงาน) 2.1 การยืนยันบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน เป็นขั้นตอนที่บุคลากรภายในสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ร่วมกันยืนยันในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของตน โดยนำบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงานที่มีอยู่มาทบทวน และทำความเข้าใจร่วมกันในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบที่ดำเนินการอยู่จริง หากบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบที่กำหนดไว้ ไม่ตรงกับบทบาทหน้าที่ที่เป็นอยู่จริง ควรมีการปรับเปลี่ยนให้เป็นไปตาม บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบที่ดำเนินการอยู่จริง เพื่อให้การจัดทำระบบประเมินผลมีความสอดคล้องกับการดำเนินงานจริง 2.2 การกำหนดเป้าประสงค์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของกรมทางหลวง ในขั้นตอนนี้ สำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ควรพิจารณาเป้าประสงค์ของกรมทางหลวงว่าสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน จะมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ใด อย่างไร โดยนำเป้าประสงค์ของ กรมทางหลวงมาพิจารณาทีละเป้าประสงค์ และเขียนบทบาทที่สำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน มีส่วนเข้าไปผลักดันต่อเป้าประสงค์นั้นๆ ออกมาในเชิงบรรยาย ซึ่งจะทำให้เห็นบทบาทหน้าที่ของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ที่มีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของกรมทางหลวง และเป็นการทำความเข้าใจร่วมกันของบุคลากรในสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ให้เข้าใจร่วมกันถึงบทบาทที่ตนเองที่มีส่วนผลักดันต่อเป้าประสงค์ของกรมทางหลวง จากนั้นจึงนำบทบาทเหล่านั้นมากำหนดเป็นเป้าประสงค์ของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน

16 ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับ
กรม สู่ระดับ สำนัก / กอง /สำนักงาน / กลุ่มงาน (การวางระบบประเมินผลระดับหน่วยงาน) ) 2.3 การกำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามบทบาทหน้าที่ของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน หลังจากที่สำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ได้กำหนดเป้าประสงค์ที่มีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของกรมทางหลวงแล้ว สำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ควรกลับมาพิจารณาถึงบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของหน่วยงานตนเอง ว่าเป้าประสงค์ที่จัดทำขึ้น ครอบคลุมบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน แล้วหรือไม่ หากพิจารณาแล้วพบว่าเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ยังไม่ครอบคลุมถึง บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ควรมีการกำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ยังขาดไป โดยพิจารณาบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบที่มีความสำคัญ ที่ควรจะได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุง และนำบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบดังกล่าวมาจัดทำเป็นเป้าประสงค์เพิ่มเติม

17 ตัวอย่าง 4. ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ M&E
ผลลัพธ์ : ประชาชนรับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ เผยแพร่ สร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาระบบราชการกับประชาชน (ทุกกลุ่มภารกิจให้ข้อมูลในส่วนของเนื้อหาแก่เผยแพร่) (การเผยแพร่ข้อมูลเฉพาะเรื่อง ภารกิจนั้นๆจะเป็นผู้รับผิดชอบ) จัดทำแบบสอบถาม (ทุกกลุ่มภารกิจให้ข้อมูลในส่วนของเนื้อหา) สำรวจ การรับรู้ของประชาชน (pre survey) ประมวลผลการสำรวจ การรับรู้ของประชาชน M&E เผยแพร่ร่วมกับ ทุกกลุ่มภารกิจ เผยแพร่ร่วมกับ ทุกกลุ่มภารกิจ เผยแพร่

18 กอง / สำนักงาน / กลุ่มงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัด (Cascading) ระดับกรม ระดับสำนัก/ กอง / สำนักงาน / กลุ่มงาน ระดับบุคคลตามสายงาน ตัวชี้วัดระดับองค์กร ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ระดับความสำเร็จของการเผยแพร่ สร้างความเข้าใจการพัฒนาระบบราชการ ตัวชี้วัดระดับบุคคล ระดับความสำเร็จของการจัดทำเอกสารเผยแพร่ สร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องการพัฒนาระบบราชการ

19 OS Matrix ประเด็นที่จะวัด ตัวชี้วัด xxx Xxx O S หน่วยงาน ก.
Owner OS Matrix Supporter ประเด็นที่จะวัด ตัวชี้วัด หน่วยงาน ก. หน่วยงาน ข. หน่วยงาน ค. หน่วยงาน ง. xxx Xxx O S

20 ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก / กลุ่มภารกิจ พร้อมทั้ง
รายละเอียดของตัวชี้วัด เป็นขั้นตอนกำหนดตัวชี้วัดที่ใช้ในการวัดผลการดำเนินงานของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ในการบรรลุแต่ละเป้าประสงค์ ซึ่งจะต้องสามารถวัดและกำหนดเป้าหมายของความสำเร็จได้ โดยทุกเป้าประสงค์ต้องมีตัวชี้วัดอย่างน้อย 1 ตัวชี้วัด เพื่อเป็นการบอกให้ทราบถึงเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ว่าบรรลุหรือไม่ ในการกำหนดตัวชี้วัดของสำนัก/กอง/สำนักงาน/กลุ่มงาน ควรพิจารณาถึงความสอดคล้องกันกับตัวชี้วัดของสำนักงานปลัดด้วย กล่าวคือ ต้องพิจารณาตัวชี้วัดของสปค. ก่อนเป็นอันดับแรก หากสามารถนำตัวชี้วัดของสปค. มาใช้ได้ ให้นำมาใช้ก่อนการพิจารณาจัดทำตัวชี้วัดใหม่หรือเพิ่มเติมจากที่มีอยู่

21 KPI Indicator = ตัวชี้วัด
ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก / กลุ่มภารกิจ พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด KPI Indicator = ตัวชี้วัด Performance Indicator = ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน Key Performance Indicator = ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ

22 ตัวชี้วัดที่เหมือนกับขององค์กร สามารถดึงขององค์กรมาได้เลย
ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก / กลุ่มภารกิจ พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด ลักษณะของตัวชี้วัด ในระดับหน่วยงาน Identical KPI ตัวชี้วัดที่เหมือนกับขององค์กร สามารถดึงขององค์กรมาได้เลย Contributory KPI ตัวชี้วัดที่ไม่ได้เหมือนกับขององค์กรโดยตรง แต่กำหนดตัวชี้วัดของหน่วยงานขึ้นมาที่ส่งผลกระทบต่อตัวชี้วัดขององค์กร Common KPI ตัวชี้วัดที่ทุกหน่วยงานในองค์กรมีเหมือนกัน Unit Specific KPI ตัวชี้วัดที่เป็นของหน่วยงานโดยเฉพาะ ไม่ได้ส่งผลต่อตัวชี้วัดขององค์กร แต่สะท้อนภาพงานของหน่วยงาน

23 ถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ตามลำดับชั้นการบังคับบัญชา
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจและอื่นๆ หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้อำนวยการ ระดับสำนัก/กอง หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา

24 สำนักกฎหมาย 7 ตัวชี้วัด
ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก / กลุ่มภารกิจ พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด สำนักกฎหมาย 7 ตัวชี้วัด 2-1 ร้อยละของความสำเร็จของการแก้ไข หรือยกเลิกกฎหมาย (20.2) 2-2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (11) 2-3 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของลูกค้า 2-4 จำนวนครั้งของความผิดพลาดในการให้คำแนะนำปรึกษาทางด้านกฎหมาย 2-5 สัดส่วนของร่างสัญญาที่สามารถตรวจเสร็จภายในเวลามาตรฐาน 2-6 จำนวนข้อทักท้วงจากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในเรื่องความผิดพลาดของร่างสัญญา 2-7 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรในการปฏิบัติงาน (วัดบุคลากรของหน่วยงานทีมีต่อหน่วยงาน) Identical Measures Contributory Measures Unit Specific Measures Common Measures

25 ผลสำเร็จของงาน / ผลสัมฤทธิ์ของงาน
ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Families สายงานของสำนักงานฯ จำนวนบุคลากร จำนวนสายงาน รวม ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Description เลขที่ตำแหน่ง: ชื่อตำแหน่งทางบริหาร: ชื่อตำแหน่งในสายงาน: ภารกิจ / สถาบัน / สำนัก: กลุ่ม: ระดับ: ผู้บังคับบัญชา: ความรับผิดชอบหลัก กิจกรรมหลัก ผลสำเร็จของงาน / ผลสัมฤทธิ์ของงาน ตำแหน่งและระดับ จำนวนคน ขอบเขตงานโดยย่อ

26 สายงานของสำนักงาน ก.พ.ร.
ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล สายงานของสำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนบุคลากร จำนวนสายงาน 1. นักบริหาร 1 2. นิติกร 4 2 3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 4. นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 5. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 7 6. เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 12 7. นักพัฒนาระบบ 116 48 8. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 9. เจ้าหน้าที่ธุรการ / เจ้าพนักงานธุรการ 13 รวม 65

27 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดระดับบุคคล Job Description
ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด การจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด หลังจากที่ได้พัฒนาระบบประเมินผลจนได้เป้าประสงค์และตัวชี้วัดแล้ว ขั้นตอนถัดมาที่ต้องดำเนินการคือการจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดสำหรับทุกตัวชี้วัด เพื่อเป็นการยืนยันร่วมกันในความหมายของตัวชี้วัด รวมถึงเพื่อเป็นคู่มือสำหรับแสดงรายละเอียดของแต่ละตัวชี้วัดให้ชัดเจน หลังจากนั้นจึงดำเนินการจัดทำแบบฟอร์มการกรอกข้อมูลเพื่อช่วยในการจัดเก็บข้อมูลของตัวชี้วัดแต่ละตัว วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดระดับบุคคล ตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา Job Description งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ Personal KPI

28 ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้ง
รายละเอียดของตัวชี้วัด ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ A3 ระดับการปรับปรุงคุณภาพกระบวนงานการให้บริการของหน่วยงาน หน่วยวัด : ระดับ น้ำหนัก : ร้อยละ 10 เป้าหมาย : ระดับ 5 คำอธิบาย : คุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน หมายถึง คุณภาพของงานให้บริการที่สอดคล้อง/สนับสนุนยุทธศาสตร์และภารกิจหลักของกรมทางหลวง โดยหน่วยงานจะเป็นผู้วางแผน กำหนดเป้าหมายและดำเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการซึ่งมีปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จในคุณภาพการให้บริการ ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพของกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการ (2) คุณภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (3) คุณภาพของสิ่งอำนวยความสะดวก และ (4) คุณภาพการให้บริการในภาพรวม งานบริการ หมายถึง งานบริการที่หน่วยงานจัดหาให้แก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งนี้ รวมถึงภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ได้แก่ กระบวนงาน Call Center กระบวนงานขออนุญาตทางเชื่อม กระบวนงานจ่ายเงินค่ารับจ้างจัดทำของ ระดับ รายละเอียดเกณฑ์ ระดับ 1 ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ กระบวนงานการให้บริการของหน่วยงาน และคัดเลือกกระบวนงานที่จะนำมาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ อย่างน้อย 1 กระบวนงาน ระดับ 2 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนงานที่คัดเลือกมาแล้ว เช่น ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน ข้อร้องเรียน ติชมการให้บริการ การสังเกตุการณ์ผู้ปฏิบัติงาน การเทียบเคียงการให้บริการในลักษณะเดียวกันในหน่วยงานอื่นๆ เพื่อนำมาประกอบการวิเคราะห์ปัญหาของการให้บริการของกระบวนงานนั้น แล้วจึงกำหนดแนวทาง/วิธีการแก้ไขปรับปรุง โดยจัดทำแผนปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ระดับ 3 ดำเนินการตามแผนปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ระดับ 4 ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ระดับ 5 ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป ข้อมูลพื้นฐาน แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : เบอร์ติดต่อ : ผู้จัดเก็บข้อมูล : เบอร์ติดต่อ :

29 โครงสร้างของกรมคุมประพฤติ
ตัวอย่าง โครงสร้างของกรมคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ 10.สำนักผู้ตรวจราชการกรม 8.กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 11.ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ 9. หน่วยตรวจสอบภายใน 1. สำนักงานเลขานุการกรม 2. กองกิจการชุมชน และบริการสังคม 3. กองแผนงานและสารสนเทศ 4. สำนักพัฒนาการคุมประพฤติ 5. กองพัฒนาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด 6. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด 7.สำนักงานคุมประพฤติภาค

30 Strategy Map กรมคุมประพฤติ
ตัวอย่าง Strategy Map กรมคุมประพฤติ วิสัยทัศน์ “เป็นเลิศในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชน เพื่อคืนคนดีสู่สังคม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 รวมพลังแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ได้ผลอย่างยั่งยืน เปลี่ยนภาระให้เป็นพลัง 1. คืนคนดีสู่สังคม ตามยุทธศาสตร์ ประสิทธิผล 2. ผู้ผ่านการฟื้นฟูในระบบบังคับรักษาสามารถเลิกยาเสพติดได้อย่างยั่งยืน 3. ผู้กระทำผิดในชุมชนสามารถกลับตนเป็นคนดีของสังคม 4. การเปลี่ยนแปลงพฤตินิสัยอย่างมีคุณภาพ 5. ประชาชนในพื้นที่ต่างๆ สามารถได้รับบริการของกระทรวงยุติธรรมอย่างสะดวก รวดเร็ว จากเครือข่ายยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการ คุณภาพ ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 6. พัฒนากระบวนการในการทำงานอย่างต่อเนื่อง 7. การส่งเสริมให้หน่วยงานปฏิบัติตามมาตรฐานสากล 8. การให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ พัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อประชาชนเข้าถึงได้อย่างเสมอภาคเกิดความเชื่อมั่น เป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 รุกป้องกัน เร่งปราบปรามอาชญากรรมและการทุจริตคอร์รัปชัน 9. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานที่เหมาะสม 10. การมีระบบการบริหารจัดการตาม พ.ร.ฎ. GG การพัฒนา องค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างระบบ GG

31 ตัวชี้วัดที่เหมือนกับขององค์กร สามารถดึงขององค์กรมาได้เลย
ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก / กลุ่มภารกิจ พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด ลักษณะของตัวชี้วัด ในระดับหน่วยงาน Identical KPI ตัวชี้วัดที่เหมือนกับขององค์กร สามารถดึงขององค์กรมาได้เลย Contributory KPI ตัวชี้วัดที่ไม่ได้เหมือนกับขององค์กรโดยตรง แต่กำหนดตัวชี้วัดของหน่วยงานขึ้นมาที่ส่งผลกระทบต่อตัวชี้วัดขององค์กร Common KPI ตัวชี้วัดที่ทุกหน่วยงานในองค์กรมีเหมือนกัน Unit Specific KPI ตัวชี้วัดที่เป็นของหน่วยงานโดยเฉพาะ ไม่ได้ส่งผลต่อตัวชี้วัดขององค์กร แต่สะท้อนภาพงานของหน่วยงาน

32 ผลสำเร็จของงาน / ผลสัมฤทธิ์ของงาน
ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Families สายงานของสำนักงานฯ จำนวนบุคลากร จำนวนสายงาน รวม ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Description เลขที่ตำแหน่ง: ชื่อตำแหน่งทางบริหาร: ชื่อตำแหน่งในสายงาน: ภารกิจ / สถาบัน / สำนัก: กลุ่ม: ระดับ: ผู้บังคับบัญชา: ความรับผิดชอบหลัก กิจกรรมหลัก ผลสำเร็จของงาน / ผลสัมฤทธิ์ของงาน ตำแหน่งและระดับ จำนวนคน ขอบเขตงานโดยย่อ

33 ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้ง
รายละเอียดของตัวชี้วัด ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ A3 ระดับการปรับปรุงคุณภาพกระบวนงานการให้บริการของหน่วยงาน หน่วยวัด : ระดับ น้ำหนัก : ร้อยละ 10 เป้าหมาย : ระดับ 5 คำอธิบาย : คุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน หมายถึง คุณภาพของงานให้บริการที่สอดคล้อง/สนับสนุนยุทธศาสตร์และภารกิจหลักของกรมทางหลวง โดยหน่วยงานจะเป็นผู้วางแผน กำหนดเป้าหมายและดำเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการซึ่งมีปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จในคุณภาพการให้บริการ ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพของกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการ (2) คุณภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (3) คุณภาพของสิ่งอำนวยความสะดวก และ (4) คุณภาพการให้บริการในภาพรวม งานบริการ หมายถึง งานบริการที่หน่วยงานจัดหาให้แก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งนี้ รวมถึงภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ได้แก่ กระบวนงาน Call Center กระบวนงานขออนุญาตทางเชื่อม กระบวนงานจ่ายเงินค่ารับจ้างจัดทำของ ระดับ รายละเอียดเกณฑ์ ระดับ 1 ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ กระบวนงานการให้บริการของหน่วยงาน และคัดเลือกกระบวนงานที่จะนำมาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ อย่างน้อย 1 กระบวนงาน ระดับ 2 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนงานที่คัดเลือกมาแล้ว เช่น ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน ข้อร้องเรียน ติชมการให้บริการ การสังเกตุการณ์ผู้ปฏิบัติงาน การเทียบเคียงการให้บริการในลักษณะเดียวกันในหน่วยงานอื่นๆ เพื่อนำมาประกอบการวิเคราะห์ปัญหาของการให้บริการของกระบวนงานนั้น แล้วจึงกำหนดแนวทาง/วิธีการแก้ไขปรับปรุง โดยจัดทำแผนปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ระดับ 3 ดำเนินการตามแผนปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ระดับ 4 ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ระดับ 5 ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป ข้อมูลพื้นฐาน แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : เบอร์ติดต่อ : ผู้จัดเก็บข้อมูล : เบอร์ติดต่อ :


ดาวน์โหลด ppt ระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google