ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
L I O รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม 2555
สำนักงานความร่วมมืออุตสาหกรรม OFFICE OF INDUSTRIAL LIAISON อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
บุคลากร ผศ.คำรณ พิทักษ์ ผู้จัดการสำนักงาน น.ส.พรพรรณ ด้วงทอง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นายพิชนันท์ เรืองแสงวัฒนา น.ส.พจนีย์ จันทร์ศิริ น.ส. ณัชชา แสนละเอียด นายตรีภพ พินันโสตติกุล เจ้าหน้าที่ประสานงานความร่วมมืออุตสาหกรรม
3
ผลการดำเนินงาน iTAP
4
โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
ลำดับ โครงการ งบประมาณ (บาท) ITA ดูแลโครงการ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพเตาอบไม้ 837,000 พจนีย์ 2 การพัฒนาระบบการทำสี 787,000 3 ที่ปรึกษา TFQS 368,000 4 การให้คำปรึกษาด้านการปรับปรุงกระบวนการการบำรุงรักษาเครื่องจักร ทวีผลแบบทุกคนที่มีส่วนร่วม (TPM) 316,000 พิชนันท์ 5 การปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักรสำหรับกระบวนการผลิตถุงนิ้วแบบต่อเนื่อง 170,925 6 การให้คำปรึกษาด้านTPM 214,000 7 การศึกษาศักยภาพของระบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสีย และกากตะกอนดีเคนเตอร์ 370,015
5
โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ (ต่อ)
ลำดับ โครงการ งบประมาณ (บาท) ITA ดูแลโครงการ 8 การพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักรในการผลิตกาแฟผงสำเร็จรูป 660,000 ณัชชา 9 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตน้ำหวานแต่งกลิ่นรสผลไม้ 342,700 10 การให้คำปรึกษาในการจัดทำระบบ GMP 221,950 11 การเพิ่มประสิทธิภาพและระบบบริหารจัดการกระบวนการผลิตกาแฟผงสำเร็จรูป 735,000
6
แผนการดำเนินงาน iTAP ปี 55-57
7
โครงการกลุ่ม โครงการบำบัดสีน้ำเสียของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม
นายพิชนันท์ เรืองแสงวัฒนา การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางแผ่นรมควันสำหรับสหกรณ์กองทุนสวนยาง นางสาวพจนีย์ จันทร์ศิริ การจัดวางระบบบริหารความปลอดภัยอาหารของอุตสาหกรรมอาหาร นางสาวพจนีย์ จันทร์ศิริ การพัฒนาเทคโนโลยีกลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและสมุนไพรในภาคใต้ น.ส.ณัชชา แสนละเอียด
8
โครงการกลุ่ม โครงการบำบัดสีน้ำเสียของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม
หลักการและเหตุผล กระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์มมีน้ำเสียเกิดขึ้นในปริมาณมาก น้ำเสียที่ผ่านระบำบัดหรือระบบผลิตแก๊สชีวภาพแล้วยังคงมีสีคล้ำไม่สามารถปล่อยทิ้งหรือนำกลับมาใช้ใหม่ เพื่อการแก้ไขปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีที่วิจัยและพัฒนา โดยผู้เชี่ยวชาญจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วัตถุประสงค์ เพื่อวิจัยและศึกษากระบวนการที่เหมาะสม สำหรับการบำบัดสีของน้ำเสียจากกระบวนการสกัดน้ำมันปาล์ม และออกแบบระบบเพื่อให้สามารถดำเนินการบำบัดสีของน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มลูกค้า/อุตสาหกรรมเป้าหมาย โรงงานอุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์ม ในพื้นที่ภาคใต้ ระยะเวลาดำเนินงาน 36 เดือน
9
สหกรณ์กองทุนสวนยางในภาคใต้
โครงการกลุ่ม (ต่อ) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางแผ่นรมควันสำหรับสหกรณ์กองทุนสวนยาง หลักการและเหตุผล โครงการนี้มุ่งเน้นการนำองค์ความรู้จากงานวิจัยภายในมหาวิทยาลัย เช่น เครื่องผลิตยางแผ่นดิบอัตโนมัติ โรงตากยางพลังงานแสงอาทิตย์ ห้องรมยางและเตาเผาฟืนประหยัดพลังงาน ระบบบำบัดน้ำเสีย ไปสนับสนุนและพัฒนาประสิทธิภาพให้แก่สหกรณ์กองทุนสวนยางในภาคใต้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางแผ่นรมควันของสหกรณ์กองทุนสวนยางในภาคใต้ กลุ่มลูกค้า/อุตสาหกรรมเป้าหมาย สหกรณ์กองทุนสวนยางในภาคใต้ ระยะเวลาดำเนินงาน 36 เดือน
10
กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร
โครงการกลุ่ม (ต่อ) การจัดวางระบบบริหารความปลอดภัยอาหารของอุตสาหกรรมอาหาร หลักการและเหตุผล จัดวางและพัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยอาหารสากล ประกอบด้วย ISO GMP HACCP และ BRC ให้กับสถานประกอบการ กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร และผลิตผลทางการเกษตรอื่นๆ โดยการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยอาหาร ในการจัดวางระบบ เพื่อให้สถานประกอบการ มีระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร ที่สอดคล้องตามมาตรฐานสากล ตลอดห่วงโซ่การผลิต และสามารถเพิ่มศักยภาพในการส่งออกได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารการจัดการด้านความปลอดภัยของอาหาร เพื่อให้สอดคล้องตามข้อบังคับ ของกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งตรงตามความต้องการของภาครัฐ ชุมชน สังคม และคู่ค้า 2. เพื่อควบคุมกระบวนการจัดการด้านการบริหารความปลอดภัยอาหาร ดำเนินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันทางการตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มลูกค้า/อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร ระยะเวลาดำเนินงาน 36 เดือน
11
กลุ่มลูกค้า/อุตสาหกรรมเป้าหมาย
โครงการกลุ่ม (ต่อ) การพัฒนาเทคโนโลยีกลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและสมุนไพรในภาคใต้ หลักการและเหตุผล เป็นโครงการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาด้านการผลิตวัตถุดิบ พัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รูปแบบและคุณภาพบรรจุภัณฑ์แบบครบวงจร แก่ผู้ประกอบการ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการลงทุนในธุรกิจที่ต้องใช้ฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากคณะเภสัชศาสตร์ และคณะการแพทย์แผนไทยเป็นผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาหลักในการดำเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการกลุ่มเครื่องสำอางและสมุนไพรในภาคใต้ 2. สำรวจ ทราบความต้องการ และวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้นให้กับผู้ประกอบการกลุ่มเครื่องสำอางและสมุนไพรในภาคใต้ 3. สนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยี องค์ความรู้ต่างๆ จากหน่วยงานวิชาการในมหาวิทยาลัย เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ กลุ่มลูกค้า/อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง สมุนไพร และธุรกิจสปาในภาคใต้ ระยะเวลาดำเนินงาน 36 เดือน
12
เยี่ยมโรงงานสำรวจปัญหาและวินิจฉัยปัญหา และความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์โครงการไปยังลูกค้าเป้าหมายเพื่อรับโจทย์ความต้องการจากภาคอุตสาหกรรม วางแผนปฏิบัติงานกับทีมผู้เชี่ยวชาญ หรือนักวิจัย เยี่ยมโรงงานสำรวจปัญหาและวินิจฉัยปัญหา และความต้องการของภาคอุตสาหกรรม จัดทำข้อเสนอ โครงการเดี่ยว รายบริษัท อนุมัติโครงการแต่ละบริษัท และเริ่มต้นให้คำปรึกษาเชิงลึก ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผล เบิกเงินอุดหนุนแก่ภาคเอกชนและไม่เกิน 400,000 บาทต่อโครงการ จัดทำรายงานสรุปและ ประเมินผล
13
แผนการดำเนินงาน iTAP iTAP/ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ กิจกรรม ปีที่ 1
ปีที่ 2 ปีที่ 3 ผู้รับผิดชอบ เดือนที่ 1-6 เดือนที่ 7-12 ประชาสัมพันธ์โครงการแก่ผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญ iTAP รับโจทย์ความต้องการจากภาคอุตสาหกรรม เยี่ยมโรงงานและวิเคราะห์ปัญหา iTAP/ผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินโครงการให้คำปรึกษาเชิงลึก ผู้เชี่ยวชาญ ติดตามและประเมินผลโครงการ ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น
14
การบริหารโครงการและประเมินผล
การบริหารโครงการและประเมินผลในระดับโครงการย่อย ประเมินผลในภาพรวมของโครงการเมื่อสิ้นสุดปีที่ 3 โดยประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นในภาพรวมทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเมินความพึงพอใจของลูกค้าต่อการดำเนินงานของโครงการ iTAP เมื่อสิ้นสุดโครงการ ด้านความพึงพอใจโดยรวมในการบริการ และความพึงพอใจต่อการทำงานของผู้เชี่ยวชาญ/นักวิจัย
15
Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.