งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน” ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม วันที่ ๑๒ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.

2 ๑. แนะนำตัว / ความคาดหวัง / ตุ๊กตาล้มลุก ๒. สถานีรู้เขารู้เรา
ทบทวนวันวาน ๑. แนะนำตัว / ความคาดหวัง / ตุ๊กตาล้มลุก ๒. สถานีรู้เขารู้เรา ๓. รู้ว่าเสี่ยงแต่... (ก็ยังทำ) ๔. เส้นชีวิต ๑. ได้เรียนรู้อะไร? จากกิจกรรมใด? ๒. จะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้นั้นไปปรับใช้อย่างไร?

3 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันวาน
.. ..

4 เพศวิถี Sexuality กระบวนการเรียนรู้ เยาวชน
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผู้จัดการเรียนรู้ เพศศึกษา บริบททางสังคมวัฒนธรรม แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เพศวิถี Sexuality กระบวนการเรียนรู้ เยาวชน แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓ และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

5 กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do มี/ผ่านประสบการณ์ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ Apply วางแผนประยุกต์ใช้ เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

6 เมื่อพูดถึง “เพศ” นึกถึง... บัตรคำ คุย / ติดในช่วงวัย
Do ทำกิจกรรม/ สร้างประสบการณ์ร่วม เพศศึกษาควรสอน เมื่อไหร่? ถกเรื่องบัตรคำที่เอาออก Apply ประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ Analyze/Synthesize คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป ข้อมูลเพศศึกษารอบด้าน ๖ มิติ เติมข้อมูลใหม่ คุยเรื่องเกณฑ์ในการวางบัตร ทำไมบัตรจึงอยู่ที่วัยรุ่นมาก

7 + สาธิตการจัดการเรียนรู้
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผู้จัดการเรียนรู้ เพศศึกษา บริบททางสังคมวัฒนธรรม แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เพศวิถี Sexuality กระบวนการเรียนรู้ เยาวชน + สาธิตการจัดการเรียนรู้ แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓ และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

8 กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do มี/ผ่านประสบการณ์ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ Apply วางแผนประยุกต์ใช้ เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

9 ความคาดหวัง กลับแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนได้
นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ถูกต้อง และรู้จักการแก้ปัญหา ความรู้เรื่องเพศ ได้รับความรู้และสามารถนำกลับไปใช้งานได้จริง เทคนิควิธีการสอน / ถ่ายทอด ได้เพื่อนใหม่ ทำให้เด็กเห็นคุณค่าในตนเอง รู้วิธีการป้องกันการท้องไม่พร้อม ได้ความสนุกสนานและเพื่อนใหม่ ได้รับแนวคิดใหม่ ๆ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเพื่อนต่างสถาบัน ให้ปัญหาสังคมเรื่องทำแท้ง การติดเชื้อ หมดไป ลดปัญหาเรื่องเพศสัมพันธ์ให้กับนักเรียน มีข้อมูลแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์

10 วัน เช้า (๐๘.๓๐-๑๒๐๐) บ่าย (๑๓.๐๐-๑๗.๐๐) (๑๙.๐๐-๒๐.๓๐) ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์ รู้จักกัน & ความคาดหวัง ความไว้วางใจ/ข้อตกลง วิเคราะห์สถานการณ์ของวัยรุ่นในเรื่องเพศและการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา (สถานีรู้เขารู้เรา) เพศวิถีและเพศศึกษารอบด้าน (เส้นชีวิต) กระบวนการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (รู้ว่าเสี่ยงแต่) (ศึกษาแผนการสอน “เพศศึกษา”) ดูหนัง ธรรมชาติวัยรุ่น/เข้าใจความเป็นวัยรุ่น (ดูหนัง “ทางเลือก) ทัศนคติและวัฒนธรรมในเรื่องเพศของสังคมไทย (เลือกข้าง / ดูหนัง “ทางเลือก”) ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของเยาวชน (ดูหนัง “ทางเลือก”) ประเมินโอกาสเสี่ยงในการรับเชื้อเอดส์ในวิถีชีวิตทางเพศ (แลกน้ำ) การให้ข้อมูลในเชิงวิเคราะห์ (ระดับความเสี่ยง QQR) ดูหนัง “หนึ่งวันชีวิตบวก” ข้อมูล ทัศนคติและความเชื่อเรื่องเพศและผลกระทบต่อสุขภาวะเรื่องเพศ (ใครเอ่ย) เพศสภาพและบทบาททางเพศ (เส้นสมมุติ) การตัดสินคุณค่าและผลกระทบ (อนุมาน/ปรับ บทบาทที่ปรึกษา (ที่ปรึกษาของฉัน /คนกับต้นไม้) ทักษะที่สำคัญในการให้การปรึกษา(การฟัง /การตั้งคำถาม) ชี้แจงการหนุนเสริม/ติดตามโครงการ เดินทางกลับ (๑๕.๐๐ น.)

11 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในวัยรุ่นในสถานศึกษา
โครงการรณรงค์ สร้างความตระหนัก เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในวัยรุ่นในสถานศึกษา

12 วัตถุประสงค์ UpToMe พัฒนารูปแบบ และทดลองใช้ ชุดกิจกรรม UpToMe เพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องเพศ และป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ให้เยาวชน ได้รับข้อมูล เกิดความตระหนัก สำรวจความรู้สึกหากต้องเผชิญสถานการณ์ในเรื่องเพศ เรียนรู้ถึงบริบทอันนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ รับรู้ถึง วิธีลดความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ผ่านกระบวนการสื่อสารผ่านกลุ่มเยาวชน โดยการถกเถียง ตั้งคำถาม ๓. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน และครูในสถานศึกษาตื่นตัว เห็นความสำคัญ และเกิดความสนใจที่จะจัดให้เกิดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

13

14 รู้สึกอย่างไร? ถ้ามีสื่อแบบนี้ให้เด็กดูก็ดี
กลุ่มวัยรุ่นสามารถสอนกันเองได้แต่อาจจะมีข้อมูลที่ผิด ความรู้สึกกับความเป็นจริง ยังขัดแย้งกัน รู้สึกว่าผู้หญิงจะต้องเป็นฝ่ายป้องกัน (จริงหรือ) สถานการณ์แบบนี้มีอยู่ในสถานศึกษาจริง เด็กปรึกษาเพื่อนเป็นอันดับต้นๆ แต่เด็กยังต้องการผู้ใหญ่เป็นที่พึ่ง ทางเลือกทุกทางเลือกอยู่ที่เจ้าตัว ผู้ชายแต่ละคนนิสัยต่างกัน

15 สะท้อนตัวละคร ธัญ – สุภาพ เรียบร้อย เชื่อฟังพ่อแม่
ออย – เรียบร้อย ยังลังเลในความคิด ไม่มั่นใจตัวเอง ตัดสินใจไม่ได้ กุ้ง – รักเพื่อน หวังดีกับเพื่อน กล้าบอกประสบการณ์ตัวเอง เรียบร้อย เชื่อฟังพ่อแม่ กลัวพ่อแม่ เป้ง – เจ้าชู้ ไม่เห็นคุณค่าผู้หญิง เห็นแก่ตัว เลว กะล่อน ไม่มีความรับผิดชอบ แหวว – รู้จักป้องกัน มั่นใจตัวเอง ไร้เดียงสา ขาดความระมัดระวัง รอบจัด ใช้ชีวิตเสี่ยง อุ่น – เด็กดี รักเพื่อน รู้จักวางแผน มีเหตุผล พ่อธัญ - แม่กุ้ง -

16 ลักษณะความเป็น “วัยรุ่น”
โกหก มี Sex ห้าว เด็กเรียน ออกจาก รร. เพราะถูกเพื่อนหลอก เปลี่ยนแปลงในเรื่องเพศ .

17 สิ่งที่เหมือน / ต่าง กับปัจจุบัน
สื่อเทคโนโลยี การสื่อสาร เจริญขึ้น วิถีชีวิต สังคมเจริญขึ้น สภาพแวดล้อม การคมนาคม สภาพการเลี้ยงดูของครอบครัว ค่านิยมของสังคม อยากรู้อยากลอง อยากได้ มีแฟนหลายคน มีความต้องการทางเพศ พ่อแม่ต้องการให้อยู่ในกรอบที่กำหนด หนีเที่ยว หนีเรียน ชอบท้าทาย เกเร ทะเลาะวิวาท

18 ย้อนรอยวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่น - เหมือนเดิม -
ยุคสมัย/สภาพแวดล้อม - เปลี่ยนไป - สถานบันเทิงมากขึ้น โอกาสเสี่ยงมากขึ้น เทคโนโลยี-โอกาสการเข้าถึงสื่อ/รับรู้ วัฒนธรรม/ค่านิยมอื่นๆ ง่ายขึ้น โครงสร้างครอบครัว/ชุมชน/สังคมเปลี่ยน การเลี้ยงดูของครอบครัวการกำกับทางสังคมอ่อนแอลง ระบบคุณค่า ค่านิยมเปลี่ยน : วัตถุนิยม ค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจ การเมือง กล้าแสดงออกมากขึ้น ความรุนแรงมากขึ้น ช่องทาง/โอกาสการเรียนรู้มากขึ้น โอกาสเสี่ยงต่างๆ เอดส์ กระบวนการหล่อหลอมเด็กทันกับการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ?

19 ความเหมือน-ความต่าง ของวัยรุ่น ยุคนี้ - ยุคเรา
มีสื่อกระตุ้นอารมณ์มากขึ้น และเด็กเข้าถึงสื่อง่าย แสดงออกในเรื่องความรักมากขึ้น โอกาสเปิดกว้างกว่า การเลี้ยงดูต่างกัน ส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงออก สภาพแวดล้อม/สังคม/เศรษฐกิจเปลี่ยนไป เน้นวัตถุมากขึ้น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ค่านิยมเปลี่ยนไป - “กล้า” มากขึ้น - เชื่อฟัง ผู้ใหญ่น้อยลง เหมือน ความเป็นวัยรุ่น เหมือนเดิม อยากลอง มีความรัก อยากรู้เรื่องเพศ ตามแฟชั่น รักอิสระอยากเป็นตัวของตัวเอง

20 วัยรุ่นกำลังเผชิญปัญหา
วัยรุ่นเป็นปัญหา หรือ วัยรุ่นกำลังเผชิญปัญหา

21 วัยรุ่นกำลังเผชิญปัญหา
วัยรุ่นเป็นปัญหา หรือ วัยรุ่นกำลังเผชิญปัญหา ผู้ใหญ่เป็นผู้สร้างปัญหาให้กับเด็ก ช่วยให้แก้ปัญหาได้ตรงจุดมากขึ้น ในการแก้ปัญหา ช่วยเตรียมเด็กให้สามารถเผชิญ ปัญหาได้ ทำให้ใจเย็นมากขึ้น เข้าใจวัยรุ่นมากขึ้น เพื่อให้เด็กเข้ามาหาเรา

22 โสเครตีส ปรัชญาเมธีกรีก กล่าวไว้เมื่อ ๕๐๐ ปีก่อนคริสต์กาล
บันทึกลับเฉพาะถึงพวกผู้ใหญ่: เยาวชนของเราทุกวันนี้ ชอบทำตัวหรูหรา ฟุ่มเฟือย ไม่มีมารยาท ชอบขัดคำสั่ง ไม่นับถือผู้ใหญ่ เอาแต่สรวลเสเฮฮา พวกเขาไม่ชอบแสดงความเคารพเมื่อผู้ใหญ่เข้าห้องมา ชอบเถียงพ่อแม่ พูดจาไม่รู้กาละเทศะ มูมมามเห็นแก่กิน และกบฎต่อครู โสเครตีส ปรัชญาเมธีกรีก กล่าวไว้เมื่อ ๕๐๐ ปีก่อนคริสต์กาล

23 อายุเมื่อมีประจำเดือนครั้งแรก (Menarche)
Global perspective: bio-social gap การศึกษาย้อนหลัง เพื่อดูช่องว่างของพัฒนาการเรื่องเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม อายุเมื่อมีประจำเดือนครั้งแรก (Menarche) อายุเมื่อ “แต่งงาน” (Married) ปี ๑๘๙๐ (๒๔๓๓) ๑๔.๘ ๒๒ ๗.๒ ปี ๑๒.๕ ๒๔.๓ ๑๑.๘ ปี ปี ๑๙๘๘ (๒๕๓๑) ปี ๒๐๑๑ (๒๕๕๔) ? ? ปี

24 อายุเมื่อมีประจำเดือนครั้งแรก (Menarche)
Global perspective: bio-social gap การศึกษาย้อนหลัง เพื่อดูช่องว่างของพัฒนาการเรื่องเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม อายุเมื่อมีประจำเดือนครั้งแรก (Menarche) อายุเมื่อ “แต่งงาน” (Married) ๗.๒ ปี ๑๔.๘ ๒๒ ปี ๑๘๙๐ (๒๔๓๓) ๑๑.๘ ปี ๑๒.๕ ๒๔.๓ ปี ๑๙๘๘ (๒๕๓๑) ๒๐ ปี ปี ๒๐๑๑ (๒๕๕๔) ๑๐ ๓๐

25 กิจกรรมที่ “เลือกข้าง” ทัศนะและการให้คุณค่าเรื่องเพศในสังคมไทย
กิจกรรมที่ “เลือกข้าง” ทัศนะและการให้คุณค่าเรื่องเพศในสังคมไทย

26 ๑ ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผู้หญิงที่เคยมีเพศสัมพันธ์กับชายอื่นมาก่อน
ลูกสาวของท่านจะแต่งงานกับผู้ชายที่เคยมีเพศสัมพันธ์กับหญิงอื่นมาก่อน

27 ๒ ฉันทำใจได้ถ้าเห็นลูกสาวยังโสดพกถุงยางอนามัย
ฉันทำใจได้ถ้าเห็นลูกชายที่ยังโสดพกถุงยางอนามัย

28 ฉันทำใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอกว่ายังมีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นอยู่เวลานี้
ฉันทำใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอกว่ายังมีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นอยู่เวลานี้ หากพบว่าคู่ยังมีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นอยู่ ฉันทำใจไม่ได้ และจะขอเลิกทันที

29 ๔ ถ้าตกลงเป็นคู่ครองของใครแล้ว คุณจะไม่มีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นอีกเลย
ฉันจะบอกคู่ ถ้าไปมีเพศสัมพันธ์กับคนอื่น

30 ความรู้สึก ได้เปิดใจ มุมมอง + เหตุผลของแต่ละคนแตกต่างกัน
เรายอมรับเรื่องของคนอื่นไม่ได้ แต่เรื่องของเราคิดว่าถูก ฝึกให้ได้คิดก่อนเจอเหตุการณ์จริง เห็นว่าเพื่อนจำนวนหนึ่งก็คิดเหมือนเรา

31 คำถาม ๔ ข้อ สะท้อน ค่านิยมในเรื่องเพศ ของสังคมไทยอย่างไรบ้าง ?
ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผู้หญิงที่เคยมีเพศสัมพันธ์กับชายอื่นมาก่อน ฉันทำใจได้ถ้าเห็นลูกสาวยังโสดพกถุงยางอนามัย ฉันทำใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอกว่ายังมีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นอยู่เวลานี้ ถ้าตกลงเป็นคู่ครองของใครแล้ว คุณจะไม่มีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นอีกเลย คำถาม ๔ ข้อ สะท้อน ค่านิยมในเรื่องเพศ ของสังคมไทยอย่างไรบ้าง ?

32 หญิง มีเพศสัมพันธ์ = พฤติกรรมไม่ดี เปลี่ยนใจง่าย ไม่รักนวล ไม่มีเพศสัมพันธ์ = บริสุทธิ์ พกถุงยาง = ไม่ดี, มี sex แล้ว (ปลอดภัย) การมีเพศสัมพันธ์นอกคู่ = ไม่รู้จักพอ ไม่ให้เกียรติ ต้องซื่อสัตย์ มีคนเดียว ชาย มีเพศสัมพันธ์ = มีสิทธิทดลองได้ รับได้ ธรรมดา เป็นการฝึกประสบการณ์ ไม่มีเพศสัมพันธ์ = หายาก พกถุงยาง = ฉลาด รู้จักปกป้องตัวเอง การมีเพศสัมพันธ์นอกคู่ = หาเศษ หาเลยได้ คู่อาจจะบกพร่อง เป็นเรื่องส่วนตัว เปลี่ยนรสชาติ, เป็นเรืองธรรมดาของผู้ชาย เป็นโอกาส

33 คำถาม ๔ ข้อ สะท้อน เรื่องเพศของสังคมอย่างไร ?
สังคมให้คุณค่าไม่เท่าเทียมกัน ในเรื่องเพศ ผู้ชายได้เปรียบมากว่าผู้หญิง ทั้งๆ ที่ทำพฤติกรรมเหมือนกัน แต่การตัดสินต่างกัน ค่านิยมเกี่ยวกับทัศนะเหล่านี้เปลี่ยนไป ทัศนะของ “เรา” กับ “เด็ก” ต่างกัน ?

34 ทัศนะเรื่องเพศในสังคมไทย
ชาย เพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง เป็นเรื่องธรรมดา ยอมรับ แต่งแล้ว ยังมีกับคนอื่น ก็เป็นเรื่องยอมรับ ไม่มีข้อจำกัดจำนวนคนที่เคยมีเพศสัมพันธ์ด้วย ถ้าก่อนแต่ง ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ = ไม่ปกติ ต้องสอน/รู้เรื่องการป้องกัน หญิง มีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง = ไม่ดี ไม่เป็นกุลสตรี ไม่ควรมีกับหลายคน ควรมีเมื่อแต่งเท่านั้น แต่งแล้ว ควรอยู่กับคนเดียวๆ ไปตลอด ต้องซื่อสัตย์ต่อคู่

35 สังคมไทย เป็นสังคม “ผัวเดียว เมียเดียว” จริงหรือ ?
หรือ ผัวเดียวหลายเมีย ?

36 กรอบ/กติกา/ บรรทัดฐานทางเพศ เราไว้ใช้กับใคร ?
กรอบ/กติกา/ บรรทัดฐานทางเพศ เราไว้ใช้กับใคร ?

37 ถุงยาง ถุงยาง + ผู้หญิง ถุงยาง + ผู้ชาย = ไม่ดี, มีเพศสัมพันธ์
คือ อุปกรณ์คุมกำเนิดชนิดเดียว ที่ช่วยป้องกันโรคและการติดเชื้อเอชไอวี ถุงยาง + ผู้หญิง = ไม่ดี, มีเพศสัมพันธ์ พกได้ เผื่อถูกข่มขืน แต่พกไว้ใช้กับแฟน ? - ไม่ใช่เรื่องของผู้หญิง ถุงยาง + ผู้ชาย = รู้จักป้องกัน = อุปกรณ์ของผู้ชาย เปลี่ยนภาพลักษณ์ของถุงยาง ?

38 ทัศนะเรื่องเพศ ใคร จะเริ่มต้นเปลี่ยน ? แตกต่างระหว่างบุคคล
การเรียนรู้/การหล่อหลอม แตกต่างในตัวคนๆ เดียว เพศ, วัย, สถานภาพ ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน เวลา, สถานที่ เปลี่ยนได้ การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มต้นที่ไหน ระดับบุคคล/ระดับสังคม-โครงสร้าง ใคร จะเริ่มต้นเปลี่ยน ?

39 วัตถุประสงค์ ตระหนักถึงทัศนะและการให้คุณค่าในเรื่องเพศของตนเอง
ตระหนักว่าแต่ละคนอาจมีทัศนะที่แตกต่างกันได้ วิเคราะห์ผลกระทบที่ตามมาจากค่านิยมเรื่องเพศในสังคม

40 “การมีเพศสัมพันธ์” ถูกใช้ในการตัดสินคุณค่า ความเป็นคน (โดยเฉพาะของผู้หญิง)
“ค่านิยม” เปลี่ยนไปตามยุคสมัย คนต่างรุ่น มีค่านิยม/ให้คุณค่า กับเรื่องเพศต่างกัน มีใครถูกใครผิดหรือไม่ ? หรือมีใครถูกกว่ากันไหม ?

41

42 ข้อสังเกต “ทางเลือก” ตอนที่ ๒
ผิดหวังกับออย ความรัก อารมณ์ อยู่เหนือเหตุผล ออย กับ กุ้ง ตีตราตัวเอง ออย อยากรู้อยากลอง ออย กับ ธัญ ไม่ต้องการทำผิด ความรุ้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด แหววรู้จักป้องกันตนเอง มีทักษะชีวิต เป้ง เห็นแก่ตัว ไม่มีคุณธรรมจริยธรรม

43 หญิง ติดโรค ชาย มีเพศสัมพันธ์ = รับได้ ไม่ร้ายแรง
มีเพศสัมพันธ์ = ไม่ดีเป็นสินค้ามือสอง ไม่บริสุทธิ์ ไม่มีเพศสัมพันธ์ = มือหนึ่ง ดี พกถุงยาง = พร้อมมีเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์นอกคู่ = ข้อห้าม รับไม่ได้ ต้องซื่อสัตย์ มีคนเดียว ชาย มีเพศสัมพันธ์ = รับได้ ไม่ร้ายแรง มีประสบการณ์มาแนะนำ ไม่มีเพศสัมพันธ์ = น่าเป็นห่วง พกถุงยาง = ยินดี ปลอดภัย ป้องกันท้อง โรค การมีเพศสัมพันธ์นอกคู่ = ขอดูเหตุผล / คิดผลที่ตามมา เพิ่มรสชาด เป็นเสน่ห์ของผู้ชาย ช่วยแบ่งเยาภาระคู่ ติดโรค

44 ทัศนะเรื่องเพศ ใคร จะเริ่มต้นเปลี่ยน ? แตกต่างระหว่างบุคคล
การเรียนรู้/การหล่อหลอม แตกต่างในตัวคนๆ เดียว เพศ, วัย, สถานภาพ ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน เวลา, สถานที่ เปลี่ยนได้ การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มต้นที่ไหน ระดับบุคคล/ระดับสังคม-โครงสร้าง ใคร จะเริ่มต้นเปลี่ยน ?

45 “ทางเลือก ๒” ดูหนัง “ทางเลือก” ตอนที่ ๒
คิดอย่างไรกับที่ “ออย” บอกว่าตนเองเป็นคนไม่ดี เพราะมีเพศสัมพันธ์แล้ว? คิดอย่างไรกับผู้ชายแบบ “เป้ง” ถ้าเราอยากจะให้ผู้หญิงแบบ “แหวว” ปลอดภัย เราสามารถทำอะไรได้บ้าง? ถ้าลูกศิษย์เราอยู่ในสถานการณ์แบบนี้ คิดว่าเขาจะเดินมาบอกคุยกับเราไหม? เพราะอะไร?

46 ลูกศิษย์ของเราอยู่ในสถานการณ์แบบนี้ เราจะรู้ไหม? เพราะอะไร?

47

48 แบ่งกลุ่มย่อย ๔ กลุ่ม ๑. เป็น “พ่อ แม่” ของธัญ
๑. เป็น “พ่อ แม่” ของธัญ ๒. เป็น “พ่อ แม่” ของออย ๓. เป็น “ธัญ” เป็น “ออย” เป็น “ครู” ของธัญ ออย รู้สึกอย่างไร - อยากจัดการเรื่องนี้อย่างไร?

49 ความรู้สึก ผู้ใหญ่ ตกใจ โกรธ โมโห ผิดหวัง กังวล เสียใจ เด็ก
กลัวพ่อแม่รู้ กลัวถูกนินทา กลัวไม่ได้เรียน ตกใจ สับสน / มืด เสียใจ อยากปรึกษาผู้ใหญ่สักคน

50 อยากจัดการ ผู้ใหญ่ ตั้งสติ หาข้อมูล/ให้เด็กเขียนแทนถาม คุยกับฝ่ายหญิง
ไปเจรจาสู่ขอ / แต่งงาน ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายคุยกัน ฟ้องร้องทางกฎหมาย คุยกับพ่อแม่ / ผู้ปกครอง / ที่ปรึกษา ให้ผู้ปกครองเป็นผู้ตัดสินใจ ให้ท้องต่อ ให้ธัญเรียนต่อ ให้ออยพักการเรียนคลอดแล้วค่อยมาเรียนต่อ เด็ก ปรึกษาแฟน (ธัญ) ปรึกษาเพื่อน อยากปรึกษาพ่อแม่ ให้ออยท้องต่อ

51 ถ้าผู้ใหญ่กับเด็ก เห็น “ต่างกัน” ใครตัดสินใจ?
ถ้าผู้ใหญ่กับเด็ก เห็น “ต่างกัน” ใครตัดสินใจ?

52 ผู้ใหญ่จัดการและตัดสินใจให้ เด็กได้เรียนรู้อะไร
ผู้ใหญ่ให้ข้อมูลรอบด้าน และให้เด็กตัดสินใจ เด็กได้เรียนรู้อะไร

53 เด็กตัดสินใจเอง โดยมีข้อมูลจากผู้ใหญ่
เด็กมั่นใจในการเลือก เด็กรู้ว่ามีผู้ใหญ่เคียงข้าง

54 ได้คิด ได้ตัดสินใจ ได้คิด ไม่ได้ตัดสินใจ ไม่ได้คิด ไม่ได้ตัดสินใจ
เด็กริเริ่มแต่มีผู้ใหญ่ ร่วมตัดสินใจ ระดับการมีส่วนร่วม...ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ เด็กริเริ่ม เด็กกำหนด ผู้ใหญ่ริเริ่มแต่เด็กมีส่วนร่วมตัดสินใจ ขอคำปรึกษาเด็ก ได้คิด ไม่ได้ตัดสินใจ ถูกมอบหมายให้ทำแต่รับทราบก่อน ทำพอเป็นพิธี ไม้ประดับ ไม่ได้คิด ไม่ได้ตัดสินใจ ถูกบงการ จาก... หนังสือการมีส่วนร่วมของเด็ก..การทำพอเป็นพิธีสู่ความเป็นประชาชน

55 ชีวิตคนเรา “พลาด” ได้ไหม?

56 กิจกรรม อนุมาน

57 ไก่กับแดง ไก่กับแดงเป็นเพื่อนสนิทกัน ทั้งสองชอบที่จะไปชอปปิ้งตามศูนย์การค้าหรูๆอยู่เสมอ วันหยุดที่ผ่านมาไก่กับแดงนัดกันไปชอปปิ้งที่ศูนย์การค้าสยามเซ็นเตอร์ เพื่อหาซื้อเสื้อผ้ายี่ห้อดังๆ ที่กำลังลดราคา ทั้งคู่นัดพบกันที่บันไดเลื่อนชั้น ๑ ในศูนย์การค้าเวลาเที่ยง เมื่อถึงวันนัดไก่ไปถึงก่อนเวลานัดและคอยที่บริเวณบันไดเลื่อนชั้น ๑ ตามที่ได้นัดหมายไว้ ไก่คอยอยู่บริเวณนั้นเป็นชั่วโมง โดยไม่กล้าเดินไปที่อื่น เพราะเกรงว่าถ้าแดงมาแล้วจะคลาดกันได้ แต่แดงก็ยังไม่มา ไก่เลยโทรศัพท์ไปหาแดง ปรากฏว่าติดต่อไม่ได้เลย ไก่รู้สึกไม่พอใจที่แดงมักผิดนัดกับตนอยู่บ่อยๆ ไก่เลยตัดสินใจเดินดูของตามที่ตั้งใจ แล้วก็กลับบ้านด้วยอารมณ์ที่ไม่สู้ดีนัก

58 ๓ ๘ ๑๓ ๑๙ ๑๒ ๒๓ ๑๗ ๑๘ ๒๘ ๑๔ ไก่กับแดง ข้อเท็จจริง อนุมาน
ไก่กับแดงเป็นวัยรุ่นที่ชอบชอปปิ้งตามศูนย์การค้าหรูๆ ๑๙ ๑๒ ทั้งสองสาวนัดพบกันในวันหยุดที่ผ่านมาที่สยามเซ็นเตอร์ ๒๘ ไก่ไปคอยแดงเป็นเวลานานแต่แดงก็ไม่ไปตามนัด ๒๓ ไก่โทรศัพท์ไปที่บ้านแดงแต่ก็ติดต่อไม่ได้ ๑๔ ๑๗ แดงมักผิดนัดอยู่เสมอ ๑๓ ๑๘ ไก่ซื้อของตามที่ตั้งใจแล้วก็กลับบ้าน ด้วยอารมณ์ไม่ดีนัก

59 * ไก่กับแดง ข้อเท็จจริง อนุมาน
ไก่กับแดงเป็นวัยรุ่นที่ชอบชอปปิ้งตามศูนย์การค้าหรูๆ * ทั้งสองสาวนัดพบกันในวันหยุดที่ผ่านมาที่สยามเซ็นเตอร์ ไก่ไปคอยแดงเป็นเวลานานแต่แดงก็ไม่ไปตามนัด ไก่โทรศัพท์ไปที่บ้านแดงแต่ก็ติดต่อไม่ได้ แดงมักผิดนัดอยู่เสมอ ไก่ซื้อของตามที่ตั้งใจแล้วก็กลับบ้าน ด้วยอารมณ์ไม่ดีนัก

60 การอนุมาน เกิดจาก... ส่งผลต่อ...?
คิดเอง ขาดความรอบคอบ เห็นบ่อย ประสบการณ์ของตัวเรา เข้าใจผิด พลาด สื่อสารไม่ตรง ตัดสินใจผิด

61 สิ่งที่ได้เรียนรู้


ดาวน์โหลด ppt ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google