งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548/พรบ.บริหารราชการแผ่นดิน/พรฎ.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548/พรบ.บริหารราชการแผ่นดิน/พรฎ.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548/พรบ.บริหารราชการแผ่นดิน/พรฎ.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.

2 การพัฒนาระบบราชการไทย
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Good Governance Efficiency/ Value-for-money Effectiveness/Quality/Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation/ Transparency/ Responsiveness/ Decentralization แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2550) Rule of law

3 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้ แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบ สนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง

4 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราช กฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้

5 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น กระจายอำนาจตัดสินใจ อำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการของประชาชน รับผิดชอบต่อผลของงาน

6 มีการประเมินผลการปฏิบัติ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ มีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับ การอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนอง ความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น มีการปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์

7 เจตนารมณ์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
 สร้าง กฎ เกณฑ์ และกลไกที่ดีในการบริหารราชการ  ทำให้บ้านเมืองอยู่อย่างสันติ สงบสุข  พัฒนาระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ ตอบสนอง ความต้องการของประชาชน

8 ประโยชน์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
รัฐสามารถกำหนดนโยบาย/เป้าหมายการทำงานในแต่ละปี ได้ชัดเจน มีกลไกพัฒนาองค์กรของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพขึ้นได้  ส่วนราชการมีแนวทางการปฏิบัติงานชัดเจนโปร่งใสวัดผลได้ ประชาชนได้รับการบริการที่รวดเร็ว/ตรวจสอบการทำงานและ การมีส่วนร่วมในการบริหารงานภาครัฐ

9 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53)

10 หลักการตรวจสอบและประเมินผล
สมรรถนะของบุคลากร เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ความชัดเจน การมีส่วนร่วม ฯลฯ ผลสัมฤทธิ์ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ ติดตาม +ประเมินผล เตรียมการ ตั้งคณะทำงาน ให้ความรู้ ข้อมูล ฯลฯ แผนปฏิบัติการ เป้าหมาย

11 การวัดผลการปฏิบัติงาน (ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล)
การวัดผลการปฏิบัติงาน (ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล) ความมีประสิทธิผล ความมีประสิทธิภาพ ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) วัตถุประสงค์ (Objectives) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) กระบวนการ (Processes) ผลสัมฤทธิ์ (Results) ความประหยัด

12 มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 มีนาคม 2547
ให้สำนักงาน ก.พ.ร. รับไปพิจารณาจัดระบบการตรวจสอบภาคราชการใหม่ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบราชการ และระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

13 มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 ตุลาคม 2547
เห็นชอบหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ... เห็นควรให้ยุบเลิกคณะกรรมการตรวจสอบภาคราชการและมอบหมาย ให้สำนักงาน ก.พ.ร. รับไปประสานงานในรายละเอียดการปรับปรุงกลไกและระบบงานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและประเมินผลและพัฒนาในส่วนราชการ

14 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ. ศ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548

15 สรุปสาระสำคัญ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548
หลักการและเหตุผล - เพื่อบูรณาการและเสริมสร้างความเข้มแข็งของการกำกับดูแล และควบคุมตนเองที่ดีของส่วนราชการ - สร้างความเชื่อถือและมั่นใจแก่สาธารณชนต่อการดำเนินงานของ ส่วนราชการว่ามีการตรวจสอบและกำกับดูแลอย่างรอบคอบ

16 การตรวจสอบและประเมินผล
สรุปสาระสำคัญ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548 การตรวจสอบและประเมินผล - การตรวจสอบและประเมินผลการบริหารและผลการดำเนินงาน การตรวจสอบการบัญชีและการเงิน ความถูกต้องตามกฎระเบียบ รวมถึงการประเมินความเสี่ยง ความเพียงพอและเชื่อถือได้ของ การกำกับดูแลและควบคุมตนเองที่ดี ส่วนราชการ - ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และหน่วยงาน อื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น

17 สรุปสาระสำคัญ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548
วัตถุประสงค์ เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจแก่สาธารณะได้ถึงประสิทธิผล ความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ และคุณภาพของการบริหารงาน ตลอดจนการปรับปรุง ขีดสมรรถนะและศักยภาพ การเสริมสร้างการเรียนรู้ และการพัฒนา อย่างยั่งยืน โดยการจัดวางระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการที่เพียงพอ เหมาะสมและมีกลไกกำกับดูแลที่น่าเชื่อถือ

18 องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
( ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ ) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.* 10. 11. รัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน อธิบดีกรมบัญชีกลาง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคล ซึ่งได้รับการสรรหาจำนวนไม่น้อยกว่าเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบคน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมอบหมาย ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 18 18

19 คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2553ได้มีมติแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิใน ค.ต.ป. จำนวน 9 ท่าน ดังมีรายชื่อต่อไปนี้ ชื่อ ผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้าน 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณเกษรี ณรงค์เดช การบัญชี 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิตร นิลสุวรรณากุล การตรวจสอบและประเมินผล 3. นายวัฒนา รัตนวิจิตร กฎหมาย 4. ศาสตราจารย์โกวิทย์ โปษยานนท์ การเงิน 5. นายอรัญ ธรรมโน เศรษฐศาสตร์ 6. นายสารสิน วีระผล การบริหารและการจัดการ การวางแผน 7. นายบุญญรักษ์ นิงสานนท์ 8. รองศาสตราจารย์ครรชิต มาลัยวงศ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. ศาสตราจารย์ปกรณ์ อดุลพันธุ์ วิศวกรรมศาสตร์ รายที่ และรายที่ 8 – 9 จำนวน 7 คน เคยเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน ค.ต.ป. ซึ่งบทเฉพาะกาลฯ (ข้อ 7 ของระเบียบฯ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2552) ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบสองวาระแล้ว อาจได้รับการสรรหาและแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามระเบียบนี้ได้ แต่ให้มีวาระอยู่ในตำแหน่งได้เพียงหนึ่งวาระ

20 อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. วางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ รวมถึงกำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผล ให้ความเห็นชอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลตาม 1 ของคณะอนุกรรมการตาม 7 และหน่วยงานกลางที่มีภารกิจด้านการตรวจสอบและประเมินผล ส่งเสริม ผลักดัน สอบทาน และเสนอแนะมาตรการ เพื่อให้แต่ละส่วนราชการดำเนิน การให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามข้อ 4 ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ และหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งให้ข้อเสนอ แนะเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลต่อนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี อย่างน้อยปีละสองครั้ง และส่งสำเนารายงานดังกล่าว ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องด้วย

21 อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. (ต่อ)
ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ตลอดจนมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทราบเป็นระยะ ประสานงานกับคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการในการประเมินผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 7.* แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย * คณะอนุกรรมการตามข้อ 7 อย่างน้อยจะต้องมีคณะอนุกรรมการกลุ่มกระทรวงและคณะอนุกรรมการกลุ่มจังหวัด และอาจให้มีอนุกรรมการอื่นตามรายสาขาหรือตามประเด็นที่มีความสำคัญก็ได้

22 นโยบายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ส่วนราชการ โดยเฉพาะการส่งเสริมและกระตุ้นให้ส่วนราชการมีระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี ผลักดันการบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี ตามนัยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่งเสริมการบูรณาการงานด้านการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ สร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจแก่สาธารณชนต่อการดำเนินงานของส่วนราชการ

23 กลไกในการตรวจสอบและประเมินผล ที่ ค.ต.ป. กำหนด
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง

24 การกำหนดแนวทางวิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
อำนาจหน้าที่ - วางนโยบาย แนวทาง การตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ - กำหนดประเด็นหัวข้อ ประเมินผล - ส่งเสริม ผลักดัน สอบ ทาน และเสนอแนะ มาตรการ เพื่อให้ส่วน ราชการดำเนินการให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบและ - ประสานงานกับ คณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการในการ ประเมินผลตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ - แต่งตั้งคณะ อนุกรรมการ ค.ต.ป. อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับ การกำหนดแนวทางวิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด 5 คณะ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง 4 คณะ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง

25 อำนาจหน้าที่ อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางฯ
อำนาจหน้าที่ อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางฯ 1. กำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รวมถึงประเด็น หัวข้อการตรวจสอบและประเมินผล 2. ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในระดับ กระทรวงและจังหวัดของคณะอนุกรรมการตามข้อ 13 (7) แห่งระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ และที่แก้ไข เพิ่มเติม 3. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการตามข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. 4. จัดทำรายงานผลการติดตามและประเมินผลภาคราชการฉบับสมบูรณ์ เพื่อเสนอ ค.ต.ป. ให้ความเห็นชอบก่อนที่จะเสนอนายกรัฐมนตรีและ ครม. ต่อไป 5. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการตามคำสั่งนี้ 6. กำหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานใดของรัฐจัดส่งเอกสาร ข้อมูล ชี้แจงข้อเท็จจริง และดำเนินการอื่น ๆ แก่คณะกรรมการ อนุกรรมการ หรือผู้ได้รับ มอบหมายตามคำสั่งนี้ 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย

26 อำนาจหน้าที่ของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด
กำหนดนโยบายด้านตรวจสอบและประเมินผลของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดให้สอด คล้องกับนโยบายและแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการที่ ค.ต.ป. กำหนด รวมทั้งกำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผลของกลุ่มจัหวัดและจังหวัดตามที่เห็นสมควร 2. สอบทาน ส่งเสริม และเสนอแนะมาตรการ เพื่อให้แต่ละกลุ่มจังหวัดและจังหวัดดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามที่ ค.ต.ป. กำหนด 4. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย

27 อำนาจหน้าที่ของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง
กำหนดนโยบายด้านการตรวจสอบและประเมินผลของกลุ่มกระทรวง กระทรวง หรือส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ให้สอด คล้องกับนโยบายและแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการที่ ค.ต.ป. กำหนด รวมทั้งกำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผลในระดับกลุ่มกระทรวง กระทรวง หรือส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ตามที่เห็นสมควร สอบทานส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง รวบรวม วิเคราะห์ สรุปผลเป็นภาพรวมของกลุ่มกระทรวงจากรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง หรือผลการสอบทานส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามที่ ค.ต.ป. กำหนด ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย

28 อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง จำนวน 4 คณะ
1. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ 2. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านสังคม 3. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร ความมั่นคง และการต่างประเทศ 4. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง

29 อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
การพิจารณาของ ค.ต.ป. ค.ต.ป. ในการประชุมครั้งที่ 3/2553 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 ได้มีมติแต่งตั้ง อ.ค.ต.ป. คณะใหม่จำนวน 11 คณะ ซึ่งประธาน ค.ต.ป. ได้ลงนามในคำสั่งแต่งตั้งโดยมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 28 สิงหาคม 2553 รายละเอียดของ อ.ค.ต.ป. คณะต่าง ๆ มีดังนี้ อ.ค.ต.ป. ประธาน อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กลุ่มกระทรวง - ด้านเศรษฐกิจ นายอรัญ ธรรมโน 2 คน สศช. สกพร./บก. - ด้านสังคม นายวัฒนา รัตนวิจิตร สงป./สงป. ด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ นายสารสิน วีระผล สกพร. สกพ./บก. - ด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ศ.โกวิทย์ โปษยานนท์ สงป. บก/สปน. กลุ่มจังหวัด - คณะที่ 1 ศ.เกียรติคุณเกษรี ณรงค์เดช ผู้ตรวจราชการ บก./สปน. - คณะที่ 2 ศ.ปกรณ์ อดุลพันธุ์ สศช./สปน. - คณะที่ 3 นายบุญญรักษ์ นิงสานนท์ บก./มท. - คณะที่ 4 ผศ. ประวิตร นิลสุวรรณากุล สงป./มท. - คณะที่ 5 รศ. ครรชิต มาลัยวงศ์ สกพร./สปน. อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลฯ 16 คน อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจเกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลฯ 14 คน บก. 1 2 29

30 กระทรวงในกำกับ 1. ด้านเศรษฐกิจ 2. ด้านสังคม - กระทรวงการคลัง
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - กระทรวงพลังงาน - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 2. ด้านสังคม - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา 4. ด้านบริหารและส่วนราชการ ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงและทบวง - สำนักนายกรัฐมนตรี - สำนักราชเลขาธิการ - สำนักพระราชวัง - สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ - สำนักคณะกรรมการพิเศษเพื่อ ประสานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ - สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - ราชบัณฑิตสถาน - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - สำนักงานป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน 3. ด้านบริหาร ความมั่นคง และการต่างประเทศ - กระทรวงการต่างประเทศ - กระทรวงกลาโหม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงยุติธรรม

31 อ.ต.ต.ป. กลุ่มจังหวัด จำนวน 5 คณะ
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ 1 ภาคกลางตอนบน 1 2 ตอนกลาง ตอนล่าง 2 ภาคตะวันออก คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ 2 ภาคเหนือตอนบน 1 2 ตอนล่าง 1 คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ 3 ภาคกลางตอนล่าง 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ภาคเหนือตอนล่าง 2 คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ 4 ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ภาคใต้ฝั่งอันดามัน ภาคใต้ชายแดน คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ 5 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ตอนกลาง ตอนล่าง 1 2

32 การพัฒนาระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
ปัญหาและข้อจำกัดเกี่ยวกับระบการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

33 ที่มา คณะกรรมการการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ระบบการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน “หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ” มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 2 มีนาคม 2547 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณา จัดวางระบบการตรวจสอบภาค ราชการใหม่ให้สอดคล้องกับ การพัฒนาระบบราชการ และ ระบบการบริหารการคลังภาค รัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ตลอดจนหลักการ บริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีตาม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ กลไกควบคุมภายใน (หน่วยงานกลาง) ผู้ตรวจการแผ่นดิน ของรัฐสภา กลไกควบคุมภายนอก 3 ผู้ตรวจราชการ สนร. คณะ กรรมาธิการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และประเมินผล ภาคราชการ (ค.ต.ป.) ผู้ตรวจราชการ ผู้ตรวจสอบภายใน ระดับกระทรวง กรม ส.ก.พ.ร. ศาล ปกครอง สงป. ส.ก.พ. สศช. ปปท. กรมบัญชีกลาง กลไกควบคุมภายใน (ภายในองค์การ) คตส. ปปช. ปปง. คณะรัฐมนตรี กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของ ค.ต.ป. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รายงาน ผลการตรวจสอบ และประเมินผล ภาคราชการ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัด คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจเกี่ยวกับการ กำหนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของ หน่วยงานกลางที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548 สร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจ แก่สาธารณชนต่อผลการดำเนินงานของ ส่วนราชการว่ามีการกำกับดูแลอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ ยกระดับขีดสมรรถนะ การเรียนรู้ และศักยภาพการพัฒนาอย่างยั่งยืนของส่วนราชการ ส่วนราชการมีการกำกับดูแลตนเองที่ดี

34 แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประเด็นการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ กรณีปกติ 1 4 2 3 5 รายงานการเงิน การตรวจราชการ ตรวจสอบภายใน ** การปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง กรณีพิเศษ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคัดเลือกโครงการ ดังนี้ ภายใต้ยุทธศาสตร์ซึ่งเป็นโครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล อย่างน้อย 1 โครงการ ในเรื่อง การท่องเที่ยว OTOP คัดเลือกโครงการตามยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญในลำดับแรก ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีจังหวัด อย่างน้อย 1 โครงการ ให้กลุ่มจังหวัดให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดำเนินงานของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในเรื่อง AEC ด้วย ค.ต.ป. ประจำกระทรวง คัดเลือกโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ของกระทรวงซึ่งเป็นโครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล หรือ ยุทธศาสตร์กระทรวงที่มีความสำคัญลำดับแรก และเลือกโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ อย่างน้อย 2 โครงการ ได้แก่ AEC หากไม่ครบ 2 โครงการ อาจเลือก คัดเลือกจากยุทธศาสตร์และแผนงาน/โครงการข้างต้นอย่างน้อย 1 โครงการ คัดเลือกยุทธศาสตร์กระทรวงที่มีความสำคัญในลำดับแรกและโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ อย่างน้อย 1 โครงการ ** รวมถึงการสอบทานการปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบภายในในการติดตามและตรวจสอบการประเมินมาตรฐานการจัดซื้อโดยรัฐ 34

35 ขอบเขตของการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบแลประเมินผลภาคราชการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการระหว่างปี (รอบ ๖ เดือน) การดำเนินการ : เป็นการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานของรอบ ๖ เดือน เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริง ความเสี่ยง/ผล เสียหาย/ปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและ จังหวัด การจัดทำรายงานผลฯ : ตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการ ตามข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานต่าง ๆ รวมทั้งการ วิเคราะห์ความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ/จังหวัดในเชิง คุณภาพ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจำปี (รอบ ๑๒ เดือน) การดำเนินการ : เป็นการรายงานสรุปผลการสอบทานที่ได้จากผลการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการและจังหวัด ที่เกิดขึ้นทั้ง ปีงบประมาณ เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงที่ตรวจพบว่าการปฏิบัติราชการสามารถ บรรลุผลตามแผนปฏิบัติราชการที่กำหนดไว้หรือไม่ การจัดทำรายงานผลฯ : ตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการ ตามข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานต่าง ๆ และควรวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่ได้กับค่าเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์จากการดำเนินการด้วย

36 ประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
การสอบทานกรณีปกติ การตรวจราชการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ การตรวจสอบภายใน รายงานการเงิน การสอบทานกรณีพิเศษ (อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง) โครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล หรือโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวงอย่างน้อย 1 โครงการ และ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งอย่างน้อย 1 โครงการ การสอบทานกรณีพิเศษ (อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด) โครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล อย่างน้อย 1 โครงการ และ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งอย่างน้อย 1 โครงการ ต้องมีลักษณะ ดังนี้ เป็นโครงการที่มีลักษณะบูรณาการร่วมกัน กระจายลงพื้นที่ และส่งผลกระทบในวงกว้างต่อประชาชน เป็นโครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการในปีที่สอบทาน เป็นโครงการที่ได้รับงบประมาณสูงในการดำเนินงานเมื่อเทียบกับโครงการอื่น หรือโครงการที่มีลักษณะความเสี่ยงสูง โครงการที่ ค.ต.ป. ให้ความสำคัญ โครงการประกันราคาสินค้าเกษตร โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง

37 ขอบเขตของการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
ข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบการสอบทาน รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการระหว่างปี (รอบ 6 เดือน) การสอบทานกรณีปกติ ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์ความก้าวหน้า ในการปฏิบัติราชการในเชิงคุณภาพ โดยนำผลการสอบ ทานมาประกอบ ข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานที่ส่วนราชการและจังหวัดต้องดำเนินการตาม ระเบียบ กฎเกณฑ์ แนวทางที่หน่วยงานกลางต่าง ๆ เป็นผู้กำหนด การสอบทานระหว่างปี เน้นการสอบทานตามแผนงานที่ส่วนราชการและจังหวัดต้อง จัดทำตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ การสอบทานประจำปี เน้นการสอบทานรายงานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ และจังหวัด ภาคราชการประจำปี (รอบ 12 เดือน) การสอบทานกรณีพิเศษ สรุปผลการสอบทานที่ได้จากผลการปฏิบัติราชการที่ เกิดขึ้นทั้งปีงบประมาณ รายงานผลการดำเนินงานจากสิ่งที่ได้จากการสอบทาน และควรวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่ได้กับค่า เป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์จากการ ดำเนินการด้วย ข้อมูลที่ได้จากส่วนราชการที่รับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่คัดเลือก ผลที่ได้จากการตรวจติดตามในพื้นที่ การสอบทานโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มเเข็ง การประสานหรือร่วมตรวจติดตามโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มเเข็งไป พร้อมกับผู้ตรวจสอบภายใน และผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดสามารถประสานเพื่อขอรับการสนับสนุนข้อมูลหรือร่วมตรวจ ติดตามกับผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีตามเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบได้ 37

38 ระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ค.ต.ป. รมต. (ต้นฉบับ) ปลัด (สำเนา) ระหว่างปี ๒๔ พ.ค. ๕๖ ประจำปี ๓๑ ม.ค. ๕๗ กรณีส่วนราชการ รายงานประจำปี ๓๐ เม.ย. ๕๖ ๒๗ ธ.ค. ๕๖ (ระหว่างปี) (ประจำปี) รายงานผล การสอบทาน รายงานระหว่างปี ประจำกระทรวง ในภาพรวมของ กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป. ครม. ระหว่างปี ๑๕ ก.ค. ๕๖ ประจำปี ๑ เม.ย. ๕๗ ระหว่างปี ๒๑ มิ.ย. ๕๖ ประจำปี ๒๘ ก.พ. ๕๗

39 ในภาพรวมของกลุ่มจังหวัด
ระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ กรณีจังหวัด รายงานประจำปี ๓๐ เม.ย. ๕๖ ครั้งที่ ๑ ๒๙ พ.ย. ๕๖ (เฉพาะรายงานการเงิน การปฏิบัติราชการตาม คำรับรองฯ และโครงการสำคัญภายใต้แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัดฯ ) ครั้งที่ ๒ ๒๗ ธ.ค. ๕๖ ระหว่างปี ๒๑ มิ.ย. ๕๖ ประจำปี ครั้งที่ ๑ ๑๐ ม.ค. ๕๗ (เฉพาะรายงานการเงิน การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ และโครงการสำคัญภายใต้แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัดฯ ) ครั้งที่ ๒ ๒๘ ก.พ. ๕๗ (ระหว่างปี) (ประจำปี) รายงานผล ในภาพรวมของกลุ่มจังหวัด อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด รายงานระหว่างปี ค.ต.ป. ครม. ระหว่างปี ๑๕ ก.ค. ๕๖ ประจำปี ๑ เม.ย. ๕๗

40 แผนภาพ แสดงกลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ครม. ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ( 20 คณะ ) รมต. อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ( 5 คณะ ) เฉพาะกิจเกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการฯ คณะที่ 1 คณะที่ 2 คณะที่ 3 คณะที่ 4 คณะที่ 5 ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ ด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรฯ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ กระทรวงพลังงาน กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กลุ่มกระทรวง (4 คณะ) เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางฯ

41 อตีตผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ.ร.
อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล อตีตผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. (การพัฒนาระบบสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภาครัฐ) โทร โทรสาร Mobile: : 41

42 ร่วมพัฒนาระบบ ยกระดับบริการ เพื่อรอยยิ้มของประชาชน


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548/พรบ.บริหารราชการแผ่นดิน/พรฎ.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google