งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
อิงมาตรฐาน ศตวรรษที่ ๒๑ โรงเรียนสตรีภูเก็ต อำเภอเมือง ภูเก็ต ๓ – ๔ เมษายน ๒๕๖๐ 1

2 ช่องทางสื่อสาร บทความเฉลิม ฟักอ่อน
Facebook : Chalerm Fakon บทความเฉลิม ฟักอ่อน ช่องทางสื่อสาร Mobile: ๑๔/๗๙ ถ.ลำพูน-ป่าซาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ลำพูน ๕๑๐๐๐ P23

3 องค์ประกอบของระบบการศึกษาที่ดีระดับโลก
๑.Vision and leadership-การมีวิสัยทัศน์ และภาวะความเป็นผู้นำที่เข้มแข็ง ๒.Ambitious Standards-การตั้งมาตรฐานระดับสูง ๓.Commitment to equity-ความมุ่งมั่น ตั้งใจ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ๔.High-quality teachers and leaders-การได้มา และคงไว้ซึ่งครู และผู้บริหารของโรงเรียนที่มีคุณภาพ

4 ๕.Alignment and coherence-ความร่วมมือในการทำงานของทุกภาคส่วนที่สอดคล้องกัน
๖.Management and accountability-การบริหารจัดการที่ดี และมีความรับผิดชอบ ๗.Student motivation-การสร้างแรงจูงใจแก่นักเรียน ๘.Global and future orientation-การมุ่ง เน้นพัฒนาเพื่ออนาคตในระดับโลก

5 เป้าหมาย&มฐ.การศึกษา สตรีภูเก็ต
“โรงเรียนสตรีภูเก็ตมุ่งมั่นพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ชั้นนำ คู่คุณธรรมจริยธรรม” “บุคคลแห่งการเรียนรู้ (Personal Learning)” โรงเรียนมาตรฐานสากล OBECQA TQA มฐ.กศ.ชาติ สพฐ.สพม.ท้องถิ่น เป้าหมาย&มฐ.การศึกษา สตรีภูเก็ต สวนพฤษศาสตร์ รร. โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ “สถานศึกษา ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Community School)”

6 โรงเรียนมาตรฐานสากล

7 ลักษณะการเป็นมาตรฐานสากล
๑. การจัดการเรียนการสอน (หลักสูตรและการสอน) ๒. บริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ

8 ลักษณะโรงเรียน มาตรฐานสากล
๑. ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก ลักษณะโรงเรียน มาตรฐานสากล ๒. จัดการเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล ๓. บริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ

9 World-class Standard School
1.1 เป็นเลิศทางวิชาการ 1.2 สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา 1.3 ล้ำหน้าทางความคิด 1.4 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 1.5 ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก 1. ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก (World Citizen) 2. จัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐาน สากล(World Class Standard) 2.1 คุณภาพทางวิชาการ 2.2 คุณภาพของครู 2.3 การวิจัยและพัฒนา 3. บริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) 3.1 คุณภาพของผู้บริหารโรงเรียน 3.2 ระบบบริหารจัดการ 3.3 ปัจจัยพื้นฐาน 3.4 เครือข่ายร่วมพัฒนา

10 การบริหาร โรงเรียนมาตรฐานสากล

11 TQA Thailand Quality Award ปี ๕๙-๖๐

12 OBECQA ปี ๕๙-๖๐

13 โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
๑. ลักษณะองค์กร (Organizational Description) ๒. สภาวการณ์ขององค์กร (Organizational Situation) หมวด ๑ การนําองค์กร (Leadership) หมวด ๒ กลยุทธ์ (Strategy) หมวด ๓ นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder) หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis) หมวด ๕ บุคลากร (Workforce) หมวด ๖ การปฏิบัติการ (Operations) หมวด ๗ ผลลัพธ์ (Results))

14 หมวด ๓ นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder)
หมวด ๑ การนําองค์กร (Leadership) ๑.๑ การนําองค์กรโดยผู้นําระดับสูง (Senior Leadership) ๑.๒ การกํากับดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม (Governance and Societal Responsibilities) หมวด ๒ กลยุทธ์ (Strategy) ๒.๑ การจัดทํากลยุทธ์ (Strategy Development) ๒.๒ การนํากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategy Implementation) หมวด ๓ นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder) ๓.๑ เสียงของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Voice of the Student and Stakeholder) ๓.๒ ความผูกพันของนักเรียนและผู้มีสวนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder Engagement)

15 หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis)
๔.๑ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผล การดําเนินการของโรงเรียน (Measurement, Analysis and Improvement of Organization Performance) ๔.๒ การจัดการความรู้สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Knowledge Management, Information and Information Technology)

16 หมวด ๕ บุคลากร (Workforce)
๕.๑ สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) ๕.๒ ความผูกพันของบุคลากร (Workforce Engagement) หมวด ๖ การปฏิบัติการ (Operations) ๖.๑ กระบวนการทํางาน (Workforce Process) ๖.๒ ประสิทธิผลของการปฏิบัติการ (Operational Effectiveness)

17 หมวด ๗ ผลลัพธ์ (RESULTS)
๗.๑ ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ (Product and Process Results) ๗.๒ ผลลัพธ์ด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder-Focused Results) ๗.๓ ผลลัพธ์ด้านบุคลากร (Workforce-Focused Result) ๗.๔ ผลลัพธ์ด้านการนําองค์กรและการกํากับดูแลองค์กร (Leadership and Governance Results) ๗.๕ ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด (Financial and Market Results)

18 แนวปฏิบัติการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน
กำหนดมาตรฐานการศึกษา แนวปฏิบัติการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน SWOT analysis จัดทำแผนพัฒนาฯ พัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง จัดระบบบริหาร จัดระบบสารสนเทศ TQA/OBECQA ทำรายงานประจำปี ดำเนินงานตามแผนพัฒนาฯ(แผน ป.) ติดตามตรวจสอบคุณภาพ ประเมินภายในตาม มฐ.

19 หลักสูตร โรงเรียนมาตรฐานสากล

20 ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ Independent Study: IS

21 สาระการเรียนรู้หลัก วิชาเพิ่มเติม รร.มาตรฐานสากล
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ IS 1 (Research and Knowledge Formation)๑-๑.๕นก. รายวิชา IS 2 การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) ๑-๑.๕นก. IS 3 การนำความรู้ไปใช้บริการสังคม กิจกรรม (Global Education and Social Service)

22 จัดสอนทั้ง ๒ รายวิชาต่อเนื่องกัน ภายในระยะเวลา ๓ ปี
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐาน) ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รายวิชาเพิ่มเติม ๑. การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) ( ๑-๑.๕ หน่วยกิต) จัดสอนทั้ง ๒ รายวิชาต่อเนื่องกัน ภายในระยะเวลา ๓ ปี ๒. การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บูรณาการ IS 3 ในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในชั้นปีที่เกี่ยวข้อง

23 กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม. ๕ ม. ๖ * กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ + ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ IS1 IS2 IS3

24 กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม. ๕ ม. ๖ * กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ + ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ IS1 IS2 IS3

25 การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
“สอนน้อย เรียนมาก”

26 P 1 Arithmetic

27 คิดอย่างมีวิจารณญาณ (คิดอย่างรอบคอบ ก่อนตัดสินใจเชื่อ/ทำ)
๑. ศึกษาเรื่องที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๒. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาที่เชื่อถือได้ ๓. จัดกลุ่ม/จัดความสัมพันธ์ของข้อมูลที่รวบรวมได้ ๔. วิเคราะห์ วิจารณ์ความเป็นไปได้ก่อนจะตัดสินใจเชื่อ/ทำโดยใช้ข้อมูลประกอบ ๕. สรุปว่าจะเชื่อ/จะทำหรือไม่ ๖. ระบุการนำผลสรุปไปใช้ประโยชน์

28 คุณลักษณะผู้เรียนในศตวรรษ ๒๑
๑.ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ๖.มีระเบียบวินัย ๒.มีภูมิรู้ ๗.ใจกว้าง ๓.รู้จักใช้วิจารณญาณ ๘.รอบคอบ ๔.เป็นนักคิด ๙.กล้าตัดสินใจ ๕.สามารถสื่อสารได้ ๑๐.ยุติธรรม

29 8Cs Critical Thinking & Problem Solving Creativity & Innovation
Cross-Cultural Understanding Collaboration, Teamwork & Leadership Communications, Information & Media literacy Computing & ICT literacy 8Cs Career & Learning skills Compassion(รมต.ศธ)

30 การเรียนรู้แบบใฝ่รู้
Active learning การเรียนรู้แบบใฝ่รู้

31 “ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้”
Active learning P 1 “ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้” “การเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะความคิดระดับสูงอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้นักเรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์สังเคราะห์ และประเมินข้อมูลในสถานการณ์ใหม่ได้ดี ในที่สุดจะทำให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการที่จะเป็นผู้ที่ใฝ่เรียนรู้อย่างยั่งยืน”

32 ลักษณะการเรียนรู้แบบ Active learning
๑. มุ่งลดการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนสู่นักเรียน แต่มุ่งพัฒนาทักษะการเรียนรู้ให้ เกิดกับนักเรียน ๒. นักเรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยได้ลงมือกระทำมากกว่านั่งฟัง ๓. เน้นการสำรวจเจตคติ และคุณค่าที่มีอยู่ในตัวนักเรียน P 1

33 ลักษณะการเรียนรู้แบบ Active learning(ต่อ)
๔. นักเรียนได้พัฒนาการคิดระดับสูงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลการนำ ไปใช้ ๕. ทั้งนักเรียนและผู้สอนรับข้อมูลป้อนกลับจากการสะท้อนความคิดได้อย่างรวดเร็ว P 1

34 การจัดการเรียนรู้ที่เป็น Active learning
๑. เน้นพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิดการแก้ปัญหาและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ๒.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวน การเรียนรู้สูงสุด ๓.นักเรียนสร้างองค์ความรู้ และจัดระบบ การเรียนรู้ด้วยตนเอง P 2

35 การจัดการเรียนรู้ที่เป็น Active learning(ต่อ)
๔. นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ สร้างปฏิสัมพันธ์ ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน ๕.นักเรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน มีวินัยในการทำงาน มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิด ชอบ ๖. ใช้กระบวนการสร้างสถานการณ์ให้นักเรียน อ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ซึ่งนักเรียนจะเป็น ผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง P 2

36 การจัดการเรียนรู้ที่เป็น Active learning(ต่อ)
๗. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง ๘. เปิดโอกาสให้นักเรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการ ความคิดรวบยอดของเรื่องที่เรียน ๙. ผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัด การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติ และเรียนรู้ด้วยตนเอง P 2

37 การจัดการเรียนรู้ที่เป็น Active learning(ต่อ)
๑๐. ความรู้ที่นักเรียนได้รับ เกิดจากประสบการณ์การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของนักเรียนเอง P 2

38 เทคนิคการจัดการเรียนรู้ศตวรรษที่ ๒๑ ๓.การเรียนรู้แบบบันได ๕ ขั้น
๑.ลงมือปฏิบัติ ๒.การเรียนรู้ผ่านการสื่อสาร ๓.การเรียนรู้แบบบันได ๕ ขั้น -Work-based -Project-based -Activity-based -Problem-based -Research-based -Learning to Question -…to Search -…to Construct -…to Communicate -… to Serve -ฝึกฟังอย่างลึกซึ้ง -การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -การทำงานเป็นทีม -การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร

39 การเรียนรู้ผ่านการทำงาน (Work-based Learning)
เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการทุกด้าน -การเรียนรู้เนื้อหาสาระ -การฝึกปฏิบัติจริง -ฝึกฝนทักษะทางสังคม -ทักษะชีวิต –ทักษะวิชาชีพ การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง โดยโรงเรียนร่วมมือกับสถานประกอบการในชุมชน รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ตั้งแต่ กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดเนื้อหากิจกรรม และวิธีการประเมิน

40 การเรียนรู้ผ่านโครงงาน (Project-based Learning)
เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยครูทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คำแนะนำ (guide) ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทำงานเป็นทีม กระตุ้น แนะนำ และให้คำปรึกษา เพื่อให้โครงการสำเร็จลุล่วง

41 โครงงาน เป็นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (life and career skills) ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี (information media and technology kills) การออกแบบโครงงานที่ดีจะกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและผู้เรียนจะได้ฝึกการใช้ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ปัญหา (critical thinking & problem solving) ทักษะการสื่อสาร (communicating) และทักษะการสร้างความร่วมมือ(collaboration) (๖ ทักษะ)

42 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Activity-based Learning)
ยึดหลักการให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง “Child Centered” การเรียนโดยการปฏิบัติจริง Learning by Doing และปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และแก้ปัญหาได้ ใช้ “กิจกรรม(Activity)” เป็นหลักในการเรียนการสอน ทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทุกคนในกลุ่มเป็นผู้ปฏิบัติ ครูเป็นพี่เลี้ยง กิจกรรมที่นำมาใช้ ต้องมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้เนื้อหานั้นๆ สนุก และน่าสนใจ ไม่ซ้ำซากจนก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย

43 การเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหา (Problem-based Learning)
กำหนดปัญหา วิเคราะห์ปัญหา ลักษณะของปัญหา ต้องมีความน่าสนใจ ท้าทายและน่าค้นหาคำ ตอบ รวมทั้งควรเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้เรียน ตั้งสมมุติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลตอบปัญหา

44 การเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีวิจัย (Research-based Learning) เป็นการเรียนที่เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ได้องค์ความรู้ใหม่

45 การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย
๒. เตรียมการ/วางแผน ค้นหาคำตอบ ๑. ตั้งคำถาม การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย QPAR ๔. สรุป นำเสนอผลการค้นหาคำตอบ ให้เพื่อนวิพากษ์ ๓. ดำเนินการค้นหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ

46 ? ? ? ? ? ขั้นตั้งคำถาม (Question)
การถามในสิ่งที่อยากรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ของเรื่องที่เรียน ที่นำไปสู่การศึกษาค้นหาคำตอบด้วยกระบวนการวิจัยได้ ครูกระตุ้นด้วยภาพ/สถานการณ์/ถาม ? ? ? ? ? ครูเติมให้ครบเรื่องที่จะเรียนตามหน่วยฯ แล้วหาเจ้าภาพหาคำตอบ K-what I Know W-what I Want to know K W L L-what I’ve Learnt

47 ครูทบทวนแหล่งเรียนรู้ และให้นักเรียนวางแผน และเตรียมการในการค้นหาคำตอบ
ขั้นเตรียมการค้นหาคำตอบ(Plan) การวางแผนการดำเนินการหาคำตอบสิ่งที่อยากรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เชื่อถือได้ เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ในการบันทึก เตรียมคำถาม ในกรณีต้องมีการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ครูทบทวนแหล่งเรียนรู้ และให้นักเรียนวางแผน และเตรียมการในการค้นหาคำตอบ

48 ครูให้กำลังใจ อำนวยความสะดวก ครูดูแลติดตามการหาคำตอบของนักเรียน
การดำเนินการค้นหาและตรวจสอบคำตอบ (Action) การดำเนินการค้นหาคำตอบ/เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่กำหนด และพิจารณาตรวจสอบการดำเนินงานและคำตอบเป็นระยะ ๆ ตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ ตลอดจนปรับปรุง จนได้คำตอบที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ครูให้กำลังใจ อำนวยความสะดวก ครูดูแลติดตามการหาคำตอบของนักเรียน

49 ครูทบทวนวิธีการนำเสนอ และกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
การสรุปและนำเสนอผลการค้นหาคำตอบ(Reflection) สรุปคำตอบในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และเผยแพร่ผลข้อค้นพบด้วยวิธีการ และสื่อที่หลากหลาย รวมทั้งให้มีการวิพากษ์ แสดงความคิดเห็นของเพื่อน และครู ต่อความรู้ที่ค้นพบ ครูทบทวนวิธีการนำเสนอ และกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น

50 Learning to communicate
๕. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) Learning to serve ๔. สื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) Learning to communicate ๓.การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) Learning to construct ๒. สืบค้นความรู้ (Searching for Information) Learning to search ๑. ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formation) Learning to question

51 เทคนิคการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
Co-operative Learning Demonstration Inductive -อุปนัย Project-based Deductive -นิรนัย ใช้กรณีตัวอย่าง C I P P A Brainstroming ใช้เกมส์ Practice -ปฏิบัติ Mind map Simulation -สถานการณ์จำลอง

52 บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21
ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก(facilitator) ครูเป็นผู้แนะแนวทาง(guide/coach) ครูเป็นผู้ร่วมเรียนรู้/ร่วมศึกษา (co-learner/co-investigator)

53 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded มีประสบการณ์ใน การจัดการเรียนรู้แบบใหม่ เช่น เรียนผ่านสื่อเทคโนโลยี Internet, เป็นต้น 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

54 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded มีทักษะการแสวงหาความรู้ใหม่ๆเพื่อขยายองค์ความรู้ของตนเองตลอดเวลา ผ่านทางสื่อเทคโนโลยี 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

55 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนเองสู่นักเรียนผ่านสื่อเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

56 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาที่ทันสมัย เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผ่านทางสื่อเทคโนโลยี 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

57 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded เป็นนักประเมินที่ดี มีความบริสุทธิ์และยุติธรรม และสามารถใช้เทคโนโลยีในการประเมินผล 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

58 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded เป็นผู้ที่ใช้สื่อเทคโนโลยี (user) อย่างคุ้มค่า และใช้ได้อย่างหลากหลาย 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

59 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรียน เนื้อหา และสื่อการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

60 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded ต้องร่วมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันผ่านสื่อเทคโนโลยี จนพัฒนาเป็นเครือข่ายความร่วมมือ เช่น เกิดชุมชนครูบน web (PLC) 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

61 ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลักษณะ E-Teacher
1. Experience 2. Extended 3. Expanded สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งในฐานะที่เป็นผู้ผลิตความรู้ ผู้กระจายความรู้ และผู้ใช้ความรู้ 4. Exploration 5. Evaluation 6. End-User 7. Enabler 8. Engagement 9. Efficient and Effective

62 การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

63 บทบาทหน้าที่ครูผู้สอน
SARครู วิเคราะห์ผู้เรียน ให้เกรด ออกแบบการสอน วัดและประเมินผล เตรียมสื่อ ซ่อมเสริม จัดการเรียนรู้ วัดผลการเรียนรู้

64

65

66

67 สิ่งที่ครูประจำวิชาควรทำ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้แกนกลาง
วิชา ชั้น สาระที่ ๑ มาตรฐาน ว ๑.๑ สาระที่ ๒ มาตรฐาน ว ๒.๑ สิ่งที่ครูประจำวิชาควรทำ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

68 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

69 ๑. ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งเจรจาต่อรอง และลดปัญหาความขัดแย้ง ต่าง ๆ การเลือกรับ หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อตนเอง และสังคม

70 ๒. ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

71 ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

72 ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม การรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

73 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้าน ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องและมีคุณธรรม

74 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ และที่โรงเรียนกำหนดเพิ่ม

75 สาระ/มาตรฐาน และตัวชี้วัดชั้นปี (พื้นฐาน)
ตชว.ระดับประถมศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย มาตร ฐาน รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๔ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ ภาษาไทย ๒๒ ๒๗ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๔ ๓๕ ๓๒ ๓๔ ๓๖ ๓๒๑ คณิตศาสตร์ ๑๔ ๑๔ ๒๓ ๒๘ ๒๙ ๒๙ ๓๑ ๒๗ ๒๖ ๒๔ ๓๒ ๒๖๔ วิทยาศาสตร์ ๑๓ ๑๖ ๒๒ ๒๘ ๒๑ ๓๔ ๓๗ ๔๒ ๓๗ ๔๐ ๖๘ ๓๔๔ สังคมศึกษาฯ ๑๑ ๓๔ ๓๔ ๓๙ ๓๘ ๓๗ ๓๙ ๔๔ ๔๔ ๔๙ ๖๓ ๔๑๙ สุข/พล ๑๔ ๒๑ ๑๘ ๑๙ ๒๔ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๔ ๒๙ ๒๒๑ ศิลปะ ๑๘ ๒๔ ๒๙ ๒๙ ๒๖ ๒๗ ๒๗ ๒๗ ๓๒ ๓๙ ๒๗๙ การงานฯ ๑๐ ๑๐ ๑๓ ๑๓ ๑๒ ๒๙ ๑๒๓ ภาษาต่างประเทศ ๑๖ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๑๙๓ รวม ๔๐ ๖๗ ๑๔๐ ๑๗๘ ๒๐๐ ๑๙๙ ๒๑๙ ๒๒๓ ๒๒๗ ๒๒๖ ๒๓๘ ๓๑๗ ๒๑๖๔

76 โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๔๔๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) คณิตศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) วิทยาศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๓๒๐ (๘ นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ศิลปะ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๑,๖๔๐ (๔๑ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ รายวิชา/กิจกรรม ปีละไม่เกิน ๒๐๐ ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ๑,๖๐๐ ชั่วโมง เพิ่มเติม * รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง

77 ๑. จัดวางตัวชี้วัดลงแต่ละภาคเรียน
วิชา ม.๑ ม.๒ ม.๓ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่๒

78 ๑. จัดวางตัวชี้วัดลงแต่ละภาคเรียน
วิชา ม.๔ ม.๕ ม.๖ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่๒

79 การเตรียมการสอนรายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง แผนการจัดการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา รายวิชา / คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ 79 79 แผนจัดการเรียนรู้ สอนนักเรียน 79

80 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ตัวชี้วัดชั้นปี ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ(P) คุณลักษณะตาม ตชว.(A) พ 1.1 ม.1/1อธิบายความสำคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น -ระบบประสาท -ระบบต่อมไร้ท่อ -ความสำคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -สังเกตและสืบค้นการเจริญ เติบโตของวัยรุ่นจากแหล่ง หรือสื่อต่าง ๆ ที่มีการเจริญเติบโตผิดปกติเนื่องจากระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อแล้วบันทึกผลการสังเกต -ตระหนักถึงความสำคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อต่อการเจริญเติบโตของวัยรุ่น -ใฝ่เรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น

81 รายวิชา / คำอธิบายรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาเพิ่มเติม ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ รายวิชา / คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ สอนนักเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ 81 81

82 การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ (เตรียมการสอน)

83 การออกแบบการจัดการเรียนรู้
๑.จัดทำโครงสร้างรายวิชา(ทำหน่วยฯ) ๒.วิเคราะห์ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๓.กำหนดเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ ๔.กำหนดภาระงาน/ชิ้นงาน(ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้) ๕.ออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๖.เขียนแผนการสอน ๗.สร้างสื่อ และเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ P 4

84 ตชว.และเนื้อหาที่สัมพันธ์กัน
รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ แผนการจัด การเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจัด การเรียนรู้ที่ ๒ แผนการจัด การเรียนรู้ที่ ๓ แผนการจัด การเรียนรู้ที่ ๔ P 4

85 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Concept ที่เป็นหลักการ/หลักวิชา)
1. จัดทำโครงสร้างรายวิชา วิชา สุขศึกษา ๑ ชั้น ม.๑ เวลา ๔๐ ชม. ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มฐ.ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา(ชม.) คะแนน ๑. หล่อสวยสมวัย พ ๑.๑ ม๑/๑-๔ (Concept ที่เป็นหลักการ/หลักวิชา) ๑๐ ... ๒. รวม ๔๐ ๑๐๐ P 5

86 ๑.ชื่อหน่วย ๑.น่าสนใจ ๒.สอดคล้องกับชีวิตประจำวันและสังคมของผู้เรียน ๓.เหมาะสมกับวัย ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียน

87 การเขียนรหัสมาตรฐานและตัวชี้วัด ม.ต้น
ต ๑.๑ ม.๑/๒ กลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ สาระที่๑ มฐ.ข้อ ๑ ตัวชี้วัดชั้น ม.๑ ข้อที่ ๒

88 การเขียนรหัสมาตรฐานและตัวชี้วัด ม.ปลาย
ท ๒.๒ ม.๔-๖/๓ กลุ่มสาระฯ ภาษาไทย สาระที่ ๒ มฐ.ข้อ ๒ ตัวชี้วัดชั้น ม.ปลาย ข้อที่ ๓

89 Theme/เนื้อหาที่ใช้สอน
คุณภาพผู้เรียน ม.3 -มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ(เน้นการฟัง พูด อ่าน เขียน) สื่อสารตามหัวข้อเรื่องเกี่ยวกับตนเอง-ครอบครัว-โรงเรียน-สิ่งแวดล้อม -อาหาร-เครื่องดื่ม-เวลาว่างและนันทนาการ-สุขภาพและสวัสดิการ -การซื้อ-ขาย-ลมฟ้าอากาศ-การศึกษาและอาชีพ-การเดินทางท่องเที่ยว -การบริการ-สถานที่-ภาษา และ-วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 2,100-2,250 คำ(คำศัพท์ที่เป็นนามธรรมมากขึ้น) Myself, My Family, My School, Environment, Food and Drink, Recreation, Health and welfare, Shopping, Climate, Education and career, Travel, Science and Technology

90 Theme/เนื้อหาที่ใช้สอน
คุณภาพผู้เรียน ม.6 -มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ(เน้นการฟัง พูด อ่าน เขียน) สื่อสารตามหัวข้อเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 3,600-3,750 คำ(คำศัพท์ที่มีระดับการใช้แตกต่างกัน) Myself, My Family, My School, Environment, Food and Drink, Community, Recreation, Health and welfare, Shopping, Climate, Education and career, Travel, Science and Technology

91 ๑ หน่วยการเรียนรู้ หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ กำหนดร่องรอยหลักฐานการเรียนรู้(ชิ้นงาน/ภาระงาน) ตชว. คุณลักษณะ สมรรถนะ คุณลักษณะพึงประสงค์ ศตวรรษ๒๑ บูรณาการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีหลักฐานการเรียนรู้(ภาระงาน/ชิ้นงาน) ๑ หน่วยการเรียนรู้ P 2

92 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Concept ที่เป็นหลักการ/หลักวิชา)
1. จัดทำโครงสร้างรายวิชา วิชา สุขศึกษา ๑ ชั้น ม.๑ เวลา ๔๐ ชม. ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มฐ.ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา(ชม.) คะแนน ๑. หล่อสวยสมวัย พ ๑.๑ ม๑/๑-๔ (Concept ที่เป็นหลักการ/หลักวิชา) ๑๐ ... ๕. รวม ๔๐ ๑๐๐

93 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของหน่วยฯ ได้มา อย่างไร
หลอมรวมเป็นสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดของหน่วยฯ ตัวชี้วัด ความคิดรวบ ยอดของ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ๑ Concept ๑ สาระสำคัญ/ความคิด รวบยอดหน่วยฯ ตัวชี้วัด ๒ Concept ๒ ตัวชี้วัด ๓ Concept ๓ p2 93

94 วิเคราะห์ตัวชี้วัด ๑ หน่วยการเรียนรู้ คุณลักษณะ(A) สมรรถนะสำคัญ(๕)
P 6-8 สมรรถนะสำคัญ(๕) องค์ความรู้Concept(K) ชิ้นงาน/ ภาระงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(๘) ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (KP) ทักษะศตวรรษที่ ๒๑

95 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หน่วย มาตรฐาน และตัวชี้วัด องค์ความรู้ (Concept) ชิ้นงาน/ภาระงาน สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ 3Rs 7Cs พ ๑.๑ ม.๑/๑ อธิบายความสำคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อมีอิทธิพลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -เขียนอธิบายความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น ๑.ความ สามารถในการคิด(สังเคราะห์) ๒.ความ สามารถในการสื่อสาร ๑.ความสนใจ ๒.ความมุ่งมั่นในการทำงาน -Reading -Writing - Critical Thinking -Communications -Computing P 6-8

96 ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน
การจับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน ต้องค้นหาคำ/ประโยคสำคัญของเรื่องที่อ่านให้ครบถ้วน แล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ 96

97 ต ๑.๒ ม.๓/๒ ใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบายอย่างเหมาะสม
การใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบาย ต้องใช้ให้ถูกต้องตามโครงสร้างประโยค และถูกต้องตามหลักภาษา จึงจะสื่อความให้ผู้ฟังเข้าใจและปฏิบัติได้ตามความต้องการ 97

98 ค ๒.๑ ม.๒/๑ เปรียบเทียบหน่วยความยาว หน่วยพื้นที่ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ และเลือกใช้หน่วยวัดได้อย่างเหมาะสม การเปรียบเทียบความยาว/พื้นที่ที่มีหน่วยวัดระบบเดียวกัน สามารถเปรียบเทียบได้เลย แต่ถ้ามีหน่วยต่างระบบกัน ต้องทำให้มีหน่วยวัดระบบเดียวกันก่อน จึงจะเปรียบเทียบกันได้ 98

99 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้อย่างเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
การออกแบบงานทัศนศิลป์ให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ ต้องจัดวางองค์ประกอบของส่วนต่าง ๆ แสดงโอกาสของงานที่โดดเด่นชัดเจน และจัดวางองค์ประกอบให้กลมกลืนกับสถานที่จัดงาน และคำนึงถึงความต้องการของเจ้าของงานด้วย 99

100 ส ๑.๒ ม.๔-๖/๒ ปฏิบัติตนถูกต้องตามศาสนพิธี พิธีกรรมตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ
แต่ละศาสนา มีศาสนพิธี และพิธีกรรมที่แตกต่างกัน ผู้ที่นับถือศาสนาใด ถ้าปฏิบัติได้ถูกต้องตามศาสนพิธี และพิธีกรรมของศาสนานั้น ๆ จะทำให้อยู่ในสังคมของศาสนานั้น ๆ อย่างมีความสุข 100

101 ชิ้นงาน/ภาระงาน (นักเรียนเป็นผู้ทำ ขึ้นต้นด้วยคำกริยา)
๑. ทดสอบปรนัยเลือกตอบ ๒. ทดสอบเติมคำ หรือข้อความ ทำ Mind map ๓. เขียนบรรยาย เขียนรายงาน ๔. การแสดง/ปฏิบัติในสถานศึกษา เช่น อ่านออกเสียง ทดลอง แสดงบทบาทสมมุติ พูดสนทนา จัดนิทรรศการ ๕. การแสดงในสถานการณ์จริง/สภาพชีวิตจริงนอกสถานศึกษา เช่น เก็บข้อมูลราคาผักในตลาด สัมภาษณ์ชาวต่างประเทศ ๖. นักเรียนแสดงพฤติกรรมอย่างปกติสม่ำเสมอ เช่น ดำรงชีวิตโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อ่านหนังสือเมื่อมีเวลาว่าง

102 Language content(เนื้อหา) Language skills(ทักษะ)
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อกำหนดเนื้อหาฯ หน่วย ตัวชี้วัด/ Language content(เนื้อหา) Language skills(ทักษะ) ผลการเรียนรู้ V P S F L R W ต 1.2 ม.1/1 ใช้คำขอร้อง ให้คำ แนะนำ และคำชี้แจงตามสถานการณ์ (restaurant) Function Reading Writing Structure Listening Speaking Vocabulary Pronunciation

103 กิจกรรม (ดูตัวอย่างในเอกสารประกอบด้วย)
๑. แต่ละคนเลือก ๑ หน่วยการเรียนรู้ของวิชาที่จะสอนในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ แล้วเขียนลงในแบบฟอร์ม “โครงสร้างรายวิชา” ๒. วิเคราะห์ตัวชี้วัดของหน่วยการเรียนรู้ ทุกตัวชี้วัดลงในแบบฟอร์ม “วิเคราะห์ตัวชี้วัดของหน่วยฯ” ๓. นำเสนอ

104 แผนการจัดการเรียนรู้
การเขียน แผนการจัดการเรียนรู้

105 แผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์จากตัวชี้วัด&สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑. สาระ มฐ.การเรียนรู้ ตชว ๒. สาระการเรียนรู้(ความรู้ทักษะ/ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ) ๓.สาระสำคัญ ๔.การบูรณาการ ๕. สมรรถนะสำคัญ ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗.คุณลักษณะผู้ตามหลักสูตรมาตรฐานสากล ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน ๙. กิจกรรมการเรียนรู้(ชิ้นงาน/ภาระงาน ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและแหล่งเรียนรู้) ๑๐.การวัดและประเมินผล ๑๑.ใบงาน ๑๒.ใบความรู้ ๑๓.เครื่องมือวัดผล การเรียนรู้ P 10-21 วิเคราะห์จากตัวชี้วัด&สาระการเรียนรู้แกนกลาง

106 สัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน
วงจรการเรียนรู้อย่างเข้าใจ P 3 เทคนิคการสอน ๒.สรุปเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง ๑.ได้รับความรู้ การเรียนรู้ อย่างเข้าใจ ๓.นำไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่ที่ สัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน ชิ้นงาน/ภาระงาน

107 มาตรฐานและตัวชี้วัด(KP) คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คะแนนลง ปพ.๕ บูรณาการ ๑.เป้าหมายการเรียนรู้ คุณลักษณะของวิชา(A) ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ สมรรถนะ สำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ P 13-15

108 เครื่องมือการประเมิน
๑๐.การวัดผลและประเมินผล เป้าหมายการประเมิน ชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์การประเมิน มฐ.ตชว.(KP) คุณลักษณะ (A) สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะศตวรรษที่๒๑ การบูรณาการ P 13-15

109 เครื่องมือการประเมิน
๑๐.การวัดผลและประเมินผล เป้าหมายการประเมิน ชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(K) พ ๑.๑ ม.๑/๑ อธิบายความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญ เติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -ทดสอบ - -แบบทดสอบ -ตอบถูกได้คะแนน ตอบไม่ถูกไม่ได้คะแนน -เขียนอธิบายความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -ความถูกต้อง -ความครบถ้วน -ตรวจการเขียนอธิบายความสำคัญและอิทธิพลของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -แบบตรวจการเขียนอธิบายความสำคัญและอิทธิพลของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -ได้ระดับ ๒ ขึ้นไปจาก ๓ ระดับคุณภาพ P 13-15

110 กิจกรรม (ดูตัวอย่างในเอกสารประกอบด้วย)
๑. แต่ละคนเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบของ รร.โดยใช้ข้อมูลจากแบบฟอร์มโครงสร้างรายวิชา และการวิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๒. วางแผนการวัดประเมินผลตามแบบฟอร์ม “การวัดและประเมินผล” ๓. นำเสนอการออกแบบการจัดการเรียนรู้

111 การดำเนินการกับหน่วยการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ขั้นที่ ๒ กำหนดหลักฐานผลการเรียนรู้ ขั้นที่ ๔ ประเมินหน่วยการเรียนรู้ ขั้นที่ ๓ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ ๕ นำไปพัฒนานักเรียน ขั้นที่ ๖ บันทึกหลังสอน

112 การบันทึกหลังสอน

113 บันทึกหลังสอน ๑. การประเมินหน่วยการเรียนรู้
๒. สรุปการจัดการเรียนรู้ บรรยากาศ ๓. การประเมินผลการเรียนรู้ และ C.V. ๔. การซ่อมเสริม และ C.V.ใหม่ ๕. ความพึงพอใจของนักเรียน ๖. จุดเด่น ความประทับใจ

114 การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้(ใช้CV.)
สัมประสิทธิ์ของการกระจาย X = ผลรวมของคะแนนที่ได้ จำนวนนักเรียน เกณฑ์การพิจารณาค่า C.V. C.V. น้อยกว่า ๑๐ หมายถึง ผลการจัดการเรียนรู้ “ดีเยี่ยม” C.V. อยู่ระหว่าง๑๐ และ ๑๕ หมายถึง ผลการจัดการเรียนรู้ “ดี” C.V. มากกว่า ๑๕ หมายถึง ผลการจัดการเรียนรู้ “ยังไม่น่าพอใจ”

115 การหาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทย์(๑๐) ๑. ได้ ๔ ๒. ๕ ๓. ๗ ๔. ๙ ๕. ๓ ๖. ๑ ๗. ๒ ๘. ๖ ๙. ๑ ๑๐. ๘ วิชาไทย(๑๐) ๑. ได้ ๖ ๒. ๕ ๓. ๗ ๔. ๖ ๕. ๗ ๖. ๗ ๗. ๖ ๘. ๖ ๙. ๗ ๑๐. ๘ วิชา คณิต(๑๐) ๑. ได้ ๓ ๒. ๔ ๓. ๓ ๔. ๔ ๕. ๔ ๖. ๓ ๗. ๓ ๘. ๔ ๙. ๓ ๑๐. ๔ C.V.=๑๓.๐๗ C.V.=๖๒.๕๐ C.V.=๑๕.๐๕

116 การสร้างเครื่องมือวัด
ผลการเรียนรู้

117 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน
P 22 ความรู้ ปฏิบัติ พฤติกรรม ทดสอบ สังเกต สังเกต แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสังเกต

118 การวัดและประเมินผล ทดสอบ สังเกต... ตรวจ... Rubrics แบบทดสอบ P 22

119 ลักษณะเครื่องมือวัดที่ดี
๑. สอดคล้องและครอบคลุมตัวชี้วัด ๒. ครอบคลุม KPA ๓. มีความตรง ความเชื่อมั่น และเป็นธรรม ๔. ใช้วิธีวัด เครื่องมือวัดที่หลากหลาย ๕. ประเมินตามสภาพจริง P 22

120 องค์ความรู้การสร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
ทฤษฏีการเรียนรู้ของ Bloom ค.ศ.๑๙๕๖ ค.ศ.๑๙๙๐ P 24-25

121 การสร้างข้อสอบแนวของ Bloom๑๙๕๙
๑. ความรู้ ความจำ-จำข้อมูลมานำเสนอ ๒. ความเข้าใจ-สร้างความหมายของข้อมูลด้วยตนเอง ๓. นำไปใช้-นำความรู้ใหม่ที่ได้รับไปใช้ในสถานการณ์อื่นได้ ๔.วิเคราะห์-จำแนกและจัดความสัมพันธ์ของส่วนประกอบ ๕. สังเคราะห์-นำส่วนย่อย ๆ มาสร้างสิ่งใหม่ ๖. ประเมินค่า-ตัดสินใจโดยมีเกณฑ์/มาตรฐานประกอบ การพิจารณา P25

122 การสร้างข้อสอบแนวของ Bloom ๑๙๙๙
๑. ความรู้ ความจำ-จำข้อมูลมานำเสนอ ๒. ความเข้าใจ-สร้างความหมายของข้อมูลด้วยตนเอง ๓. นำไปใช้-นำความรู้ใหม่ที่ได้รับไปใช้ในสถานการณ์อื่นได้ ๔.วิเคราะห์-จำแนกและจัดความสัมพันธ์ของส่วนประกอบ ๕. ประเมินค่า-ตัดสินใจโดยมีเกณฑ์/มาตรฐานประกอบ การตัดสินใจ ๖. สร้างสรรค์-สร้างสิ่งใหม่ แนวคิดใหม่ ทางเลือกใหม่ จากส่วนประกอบย่อย ๆ P 25

123 รูปแบบข้อสอบ เขียนตอบ ปรนัย แบบปิด แบบเปิด MC- ถูกข้อเดียว
MS- ถูกหลายข้อ แบบเปิด CM- สถานการณ์เดียวถามหลายข้อ RR- คำถาม/คำตอบสัมพันธ์กัน P 22-24

124 ข้อสอบ ปรนัย ที่ดี ต้องมี ๓ ส่วน ๑. สถานการณ์ ๒. คำถาม ๓. ตัวเลือก
P 25

125 สถานการณ์ การบรรยาย ข้อมูล รูปภาพ แผนภาพ และอื่น ๆ เพื่อผู้ตอบใช้เป็นข้อมูลในการตอบคำถาม ๑. เหตุการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่ใกล้เคียงกับความจำเป็น/ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้รวบรวมไว้ ๒. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน/ประเด็น(Issue)ที่สังคมให้ความสนใจ ๓. เป็นสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดที่เรียน P 25

126 คำถาม คำสั่งหรือข้อกำหนดให้ผู้ตอบได้ทราบว่าต้องการให้ทำอะไร อย่างไร โดยให้ผู้ตอบใช้ข้อมูลจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ เป็นแนวทางในการตอบคำถาม ตัวเลือก คำตอบให้เลือกตอบ ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลในสถานการณ์ที่กำหนดให้มีทั้งถูกและผิด P 25

127 MC-Multiple choice -ถูกข้อเดียว
๓๔. นักเรียนกำลังไปเข้าห้องน้ำของโรงเรียน บังเอิญพบเพื่อน ๆ กำลังสูบบุหรี่ เพื่อนชักชวนให้นักเรียนสูบบุหรี่ด้วย นักเรียนจะพูดว่าอย่างไร ๑. “เอาไว้ค่อยสูบวันหลัง” ๒. “ถ้ามีหมากฝรั่งระงับกลิ่น เราถึงจะสูบ” ๓. “เราให้สัญญากับแม่ไว้ว่าจะไม่สูบบุหรี่” ๔. “ดีเหมือนกัน วันนี้ยังไม่มีโอกาสไปซื้อเลย”

128 MS-Multiple selection -ถูกหลายข้อ
ข้อใดเป็นกีฬาบุคคลประเภทคู่(ตอบได้ ๒ คำตอบ) ๑. เปตองประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๒. แบดมินตันประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๓. เซปักตะกร้อประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๔. วอลเลย์บอลชายหาดประเภทชายคู่และหญิงคู่ P 22

129 CM-Complex multiple choice –สถานการณ์เดียว มีหลายคำถาม
ครูสมชายวัดส่วนสูงนักเรียนชาย หญิง ได้ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของนักเรียนเรียนชาย ๑๖๕ ซม. ค่าเฉลี่ยส่วนสูงนักเรียนหญิง ๑๕๕ ซม. ต่อมา มีนักเรียนมาเข้าใหม่ ๒ คน เมื่อวัดส่วนสูงแล้ว พบว่า ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของนักเรียนหญิง และนักเรียนชายไม่เปลี่ยนแปลง P23 ข้อสรุป ความเป็นไปได้ ๑.นักเรียนที่เข้ามาใหม่เป็นนักเรียนชายทั้ง ๒ คน □ได้ □ไม่ได้ ๒.นักเรียนชายที่เข้ามาใหม่ ๒ คน มีส่วนสูง ๑๖๐ ซม.และ ๑๗๐ ซม. ๓.นักเรียนหญิงที่เข้าใหม่ ๒ คน มีส่วนสูง ๑๕๕ ซม.ทั้งสองคน ๔.นักเรียนที่เข้ามาใหม่ เป็นชาย ๑ คน สูง ๑๖๕ ซม. และหญิง ๑ คน สูง ๑๖๐ ซม.

130 RR-Response related-คำถามสัมพันธ์กัน
Situation: Ben tells Rose that he is going to a stationery shop. Rose: I need some writing paper,..A.. Ben: …B…. Rose: That’s all. Thanks. A Have you get some? 2. Do you buy some writing paper? 3. Can you buy me some, please? 4. Have you bought some writing paper? B. 1. All right. Anything else? 2. I think I can. Any more? 3. Sure, I should buy it. 4. Of course, I must buy some more. P 23

131 RR-Response related-คำตอบสัมพันธ์กัน
ให้เลือกเทคนิคการโฆษณาให้สัมพันธ์กับตัวอย่างการโฆษณา เทคนิคการโฆษณา ตัวอย่างการโฆษณา ๑.รับประกัน ๒.เปรียบเทียบกำกวม ๓.คนเด่นคนดังเป็นคน แนะนำ ๔.ตัวเลขสถิติสร้างความ น่าเชื่อถือ ๕.ใช้หลักวิทยาศาสตร์มา กล่าวอ้าง A.ภราดร ศรีชาพันธ์ ใช้แต่ผลิตภัณฑ์ของ Ecco B.ทันตแพทย์ ๔ ใน ๕ คน แนะนำยาสีฟัน “ขาวสะอาด” C. ผงซักฟอก “ขาวบริสุทธ์” ซักคราบไขมัน และสิ่งสกปรกได้ดีกว่า D.แบตเตอรี่ยี่ห้อ “ทนทาน” รับประกันตลอดอายุการใช้งาน หากไม่พอใจคุณภาพยินดีคืนเงิน E.จากผลการวิจัยทางการแพทย์มากว่า ๑๕ ปี เพียงรับประทานผลิตภัณฑ์มะรุมก่อนอาหารครึ่งชั่วโมง อาหารที่คุณรับประทานเข้าไป จะไม่ทำให้น้ำหนักตัวคุณเพิ่มขึ้น (ตอบถูก ๒ ข้อ ได้ ๑ คะแนน ตอบถูก ๓ ข้อ ได้ ๒ คะแนน ตอบถูก ๔ ข้อขึ้นไป ได้ ๔ คะแนน) P 24

132 ข้อสอบ เขียนตอบ ที่ดี ต้องมี ๓ ส่วน ๑. สถานการณ์ ๒. คำถาม
๓. แนวการตอบและเกณฑ์การให้คะแนน P 25

133 สถานการณ์ การบรรยาย ข้อมูล รูปภาพ แผนภาพ และอื่น ๆ เพื่อผู้ตอบใช้เป็นข้อมูลในการตอบคำถาม ๑. เหตุการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง/ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้รวบรวมไว้ ๒. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน/ประเด็น(Issue)ที่สังคมให้ความสนใจ ๓. เป็นสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดที่เรียน P 25

134 คำถาม คำสั่งหรือข้อกำหนดให้ผู้ตอบได้ทราบว่าต้องการให้ทำอะไร อย่างไร โดยให้ผู้ตอบใช้ข้อมูลจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ เป็นแนวทางในการตอบคำถาม P 25

135 แนวการตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน
เป็นการคาดเดาว่าผู้ตอบ(ที่หลากหลาย)จะตอบคำถามที่ให้อย่างไร ซึ่งมีทั้งตอบถูกต้องทั้งหมด ต้องตอบอย่างไร และถูกต้องบางส่วน อาจจะตอบอย่างไร ฯลฯ เพื่อให้ความสะดวกในการให้คะแนนของผู้ตรวจ และจะช่วยให้ผู้ตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน (แนวการตอบ + เกณฑ์การให้คะแนน) P 25

136 เขียนตอบแบบปิด/เติมคำ/ข้อความ)
คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้างเป็นส่วนประกอบหลัก

137 เขียนตอบแบบเปิด นักเรียนมีการเตรียมตัวด้านการประกอบอาชีพอย่างไร หลังจากมีการเปิดประเทศอาเชียน เพื่อให้นักเรียนมีชีวิตที่ดี/มีสัมมาชีพในอนาคต

138 การสร้างข้อสอบเขียนตอบ
๑. ควรเขียนคำถามอย่างระมัดระวัง ใช้ภาษาชัดเจน สื่อความเข้าใจง่าย ๒. เขียนข้อสอบให้ตรงกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และเนื้อหาสาระที่สำคัญ ๓. ใช้คำสั่งที่ชัดเจน และควรบอกด้วยว่าแต่ละข้อ จะให้ข้อละกี่คะแนน หรือจะแบ่งส่วน การให้คะแนนอย่างไร

139 การสร้างข้อสอบเขียนตอบ(ต่อ)
๔. ไม่ควรให้มีการเลือกตอบแต่เพียงบางข้อ เพราะอาจจะทำให้มีความได้เปรียบเสียเปรียบ กัน เนื่องจากความยากง่ายของข้อสอบแต่ละข้อไม่เท่ากัน ๕. ไม่ควรให้มีการสอบแบบเปิดตำราตอบ ยกเว้นบางวิชาที่มีสูตรยาว ๆ หรือกรณีที่ต้องใช้ ตารางประกอบ ๖. ควรจะบอกให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้าว่าจะมีการสอบ เพื่อให้ผู้เรียนมีเวลาเตรียมตัวได้เต็มที่

140 การสร้างข้อสอบเขียนตอบ(ต่อ)
๗. ควรฝึกให้ผู้เรียนตอบข้อสอบแบบเขียนตอบ บ่อย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับคำตอบ และควรแนะนำข้อผิดพลาด หรือข้อบกพร่องในการเขียนตอบของแต่ละคน เพื่อจะได้แก้ไขในการสอบครั้งต่อไป ๘. สร้างข้อสอบให้มีความตรง และมีความเชื่อมั่น ก่อนนำไปใช้

141 การตรวจให้คะแนน ๑. ควรจัดทำเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อให้ชัดเจน เช่น คำตอบมีกี่ประเด็น ได้คะแนนเท่าไร ๒. ควรตรวจให้คะแนนทีละข้อ จนหมดทุกคน แล้วจึงตรวจข้อใหม่ แม้จะมีผู้เข้าสอบหลายห้องเพื่อจะได้เปรียบเทียบคำตอบของแต่ละคนได้ P 25-26

142 การตรวจให้คะแนน(ต่อ)
๓. การตรวจข้อสอบแต่ละข้อ ผู้ตรวจควรอ่านคำตอบของผู้เข้าสอบทุกคนผ่านไป ๑ เที่ยวโดยยังไม่ให้คะแนน แล้วจัดคำตอบเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ประมาณ ๕ กลุ่ม คือ ดีมาก ดี ปานกลาง อ่อน และอ่อนมาก และกำหนดช่วงคะแนนให้สำหรับแต่ละกลุ่ม ๔. อาจจะแบ่งผลการตอบข้อสอบของผู้เข้าสอบแต่ละกลุ่มเป็นกลุ่มย่อย ๆ ลงไปอีกก็ได้ เพื่อจะได้ให้คะแนนแตกต่างกัน ตามคุณภาพของการตอบ ๕. ให้คะแนนการตอบในข้อนั้น แล้วจึงตรวจข้อต่อไป P 25-26

143 รูปแบบของข้อสอบและจำนวนข้อ
แผนการสร้างข้อสอบ P 26 ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ ความรู้/เนื้อหา ที่จะวัด ระดับ การวัด รูปแบบของข้อสอบและจำนวนข้อ รวม (ข้อ) เลือกตอบ เขียนตอบ MC MS CM RR แบบปิด แบบเปิด พ ๑.๑ ม.๑/๑ อธิบายความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น -ความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่น -ความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของวัยรุ่น -ความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อพัฒนาการของวัยรุ่น -เข้าใจ - ๑๕ ๑๒ ๑๓ รวม ๑๐ ๔๐

144 ความตรง(Validity) ความเที่ยง/เชื่อมั่น(Reliability)
การตราจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ เครื่องมือวัด ผู้เชี่ยวชาญ ความตรง(Validity) ความเที่ยง/เชื่อมั่น(Reliability) ทดลองกับนักเรียนกลุ่มอื่น นำไปใช้

145 ความตรงเชิงเนื้อหา(Validity)หมายถึงเครื่องมือที่สร้างนั้น มีข้อคำถาม หรือมีเนื้อหาการหาข้อมูลตรงตามเรื่องที่ต้องการจะวัด และครอบคลุมเรื่องที่ต้องการจะวัด ความเชื่อมั่น(Reliability)หมายถึงเมื่อใช้เครื่องมือวัดที่สร้างขึ้นนี้ มาทำการวัด กี่ครั้ง เมื่อไร ที่ไหน ก็จะได้ผลการวัดคงที่

146 สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ
1.ความตรง(Validity) ค่าความตรงที่ใช้ได้ = ๐.๕๐ ขึ้นไป

147 การตรวจสอบความตรงของข้อสอบ
๑.หาผู้เชี่ยวชาญ ๓ คน ๒.ให้ ผชช.แต่ละคน อ่านข้อสอบทีละข้อ แล้วเทียบข้อสอบกับตัวชี้วัด แล้วให้คะแนน +๑ = แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นตรงตัวชี้วัด ๐ = ไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นตรง ตชว.หรือไม่ -๑ = แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้น ไม่ตรงตัวชี้วัด

148 แบบประเมินความสอดคล้อง(IOC)
แบบทดสอบ คำชี้แจง:โปรดทำเครื่องหมายลงในช่องที่เป็นความคิดเห็นของท่าน โดยให้+1หมายถึงคำถามสอดคล้องกับผลการ.... ข้อที่ คะแนน ข้อที่ คะแนน 1 2 3 4 5 6 7 8

149 สรุปการหาความตรงเชิงเนื้อหา
แบบทดสอบ ข้อที่ ผู้เชี่ยวชาญคนที่ IOC 1 2 3 1 2 3 4 5

150 สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ
๒.ความยากของข้อสอบ(Difficulty-P) ค่าความยากที่ใช้ได้ = ๐.๒๐ – ๐.๘๐

151 3.อำนาจจำแนก(Discrimination)
ค่าอำนาจจำแนก B ค่าอำนาจจำแนก t ค่าอำนาจจำแนกที่ใช้ได้ ต้อง ขึ้นไป

152 3.การหาค่าความเชื่อมั่น(Reliability)-ปรนัย
วิธีของ Lovett วิธีของ Kuder Richardson วิธีแบ่งครึ่ง

153 การหาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบอัตนัย
เกณฑ์การพิจารณาค่าความเชื่อมั่น(Reliability) -ค่า สูงกว่า 0.70 ขึ้นไป->มีความเชื่อมั่นระดับสูง -ค่า  อยู่ระหว่าง >มีความเชื่อมั่นปานกลาง -ค่าที่  ได้ต่ำกว่า 0.40 ลงมา->มีความเชื่อมั่นต่ำ

154 การสร้างเครื่องมือวัด
พฤติกรรม/การปฏิบัติ

155 เกณฑ์ระดับคุณภาพ Rubrics

156 เกณฑ์ระดับคุณภาพ(Rubrics)
เป็นชุดของการให้คะแนนผลงานของผู้เรียน ที่มีคุณภาพระดับแตกต่างกัน เพื่อสะท้อนให้ผู้เรียนได้ทราบว่าผลงานของตนเองเป็นอย่างไร จะได้แก้ไข ปรับปรุง การเรียนรู้ของตนเองได้อย่างชัดเจน P 26

157 ประเภทของ Rubrics Rubrics Analytic Rubrics Holistic Rubrics แยกส่วน
Formative evaluation Rubrics ภาพรวม Holistic Rubrics Summative evaluation P 26 157

158 ประเด็นการประเมิน/ มิติการประเมิน ระดับคุณภาพ คำอธิบาย ระดับคุณภาพ
ส่วนประกอบของ Rubrics ระดับคุณภาพ คำอธิบาย ระดับคุณภาพ 158

159 ขั้นตอนการสร้าง Rubrics
๑. วิเคราะห์ภาระงาน/ชิ้นงานที่จะประเมิน ๒. กำหนดประเด็นการประเมินให้ครอบคลุมสิ่งที่ประเมิน ๓. กำหนดค่าน้ำหนักของแต่ละประเด็น การประเมิน ๔. กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ P 27

160 ๕. อธิบายระดับคุณภาพของแต่ละประเด็นการประเมิน ๖
๕. อธิบายระดับคุณภาพของแต่ละประเด็นการประเมิน ๖. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรง(Validity) ของประเด็นการประเมิน และระดับคุณภาพของแต่ละประเด็น ๗.วิพากษ์ร่วมกันกับเพื่อนครู / ผู้เรียน ๘.ทดลองใช้หาค่าความเชื่อมั่น(Reliability)โดยหาค่า Spearman Rank Correlation ๙.ปรับปรุงถ้าค่าความเชื่อมั่นยังไม่เข้าเกณฑ์ P 27

161 ตัวอย่าง Rubrics วัด การตอนกิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน ๑

162 ตัวอย่าง Rubrics วัด การตอนกิ่ง
เกณฑ์ ๑.การเตรียมวัสดุอุปกรณ์(๒) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ขาดมากกว่า ๑ อย่าง เตรียมวัสดุอุปกรณ์ขาด ๑ อย่าง เตรียมวัสดุอุปกรณ์ครบถ้วน ๒.การเลือกกิ่ง(๒.๕) เลือกกิ่งแก่ หรืออ่อนเกินไป เลือกกิ่งค่อนข้างแก่ หรือค่อนข้างอ่อน เลือกกิ่งไม่แก่ ไม่อ่อนเกินไป

163 เกณฑ์ ๓.การควั่นกิ่ง(๒.๕) รอยควั่นกิ่งส่วนปลายยอดไม่เรียบร้อย มีรอยช้ำ ระยะห่างระหว่างรอยควั่นประมาณ ๑ นิ้ว ขูดเปลือกที่รอยขวั้นหมดจด รอยควั่นกิ่งส่วนปลายยอดไม่ค่อยเรียบร้อย ระยะห่างระหว่างรอยควั่นประมาณ ๑ นิ้ว ขูดเปลือกที่รอยขวั้นหมดจด รอยควั่นกิ่งส่วนปลายยอดไม่ช้ำ ระยะห่างระหว่างรอยควั่นประ มาณ ๑ นิ้ว ขูดเปลือกที่รอยขวั้นหมดจด ๔.การหุ้มกิ่งด้วยวัสดุ(๒) หุ้มกิ่งส่วนที่ตอนด้วยวัสดุ และพลาสติกหุ้มไม่ค่อยเรียบร้อย หุ้มกิ่งส่วนที่ตอนด้วยวัสดุปริมาณที่มากหรือน้อยเกินไป และมีพลาสติกหุ้มมิดชิด หุ้มกิ่งส่วนที่ตอนด้วยวัสดุปริมาณที่ไม่มากหรือน้อยเกินไป และมีพลาสติกหุ้มมิดชิด

164 เกณฑ์ ๕.การมัดวัสดุตอนกิ่ง(๑) มัดวัสดุหุ้มกิ่งตอนไม่แน่น ทำให้บิดวัสดุหุ้มกิ่งตอนไปมาได้ มัดวัสดุหุ้มกิ่งตอนเกือบแน่น และสามารถบิดวัสดุหุ้มกิ่งตอนไปมาได้เล็กน้อย มัดวัสดุหุ้มกิ่งตอนแน่น ไม่สามารถบิดวัสดุหุ้มกิ่งตอนไปมาได้

165 Rubrics แบบภาพรวม(Holistic rubrics) วัด การเขียนตอบคำถามจากการอ่าน
P 28 ระดับ เกณฑ์การประเมิน -คำตอบตอบคำถามสำคัญทั้งหมด -แสดงความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับข้อมูลสำคัญ -เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศกับความรู้ที่มีมาก่อนได้อย่างสอดคล้อง -แสดงการตีความ การประเมิน หรือการอ้างสรุป เปรียบเทียบ -คำตอบตอบคำถามสำคัญได้เกือบทั้งหมด -แสดงความเข้าใจข้อมูลสำคัญ มองข้ามความคิดสำคัญหรือรายละเอียด -สำคัญบางประการไป หรือมีความเข้าใจผิดในรายละเอียดบางประการ -คำตอบตอบคำถามเพียงบางคำถาม -เข้าใจข้อมูลสำคัญบางประการในบทความ แต่ขาดหลักฐานยืนยัน -คำตอบไม่สอดคล้องกับคำถามหรือผิดพลาดทั้งหมด -เว้นว่าง / ไม่มีคำตอบ

166 การหาค่าความเชื่อมั่น(ความเที่ยง)ของแบบสังเกต
การหาค่าความเชื่อมั่นของผู้ประเมิน-สังเกต การปฏิบัติงานของนักเรียนทีละคนโดย ใช้ผู้ประเมิน ๒ คน

167 การคิดคะแนนที่นักเรียนได้รับ(การเขียนเรียงความ)
มิติประเมิน ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ๑.รูปแบบ(๑) ✓๓ ๒.เนื้อหาสาระ(๒) ✓๖ ๓.การนำเสนอ(๒) ✓๔ ๔.การใช้ภาษา(๓) ✓๙ ๕. การสะกด(๒) ✓๘ รวมได้=๓+๖+๔+๙+๘=๓๐คะแนน จากคะแนนเต็ม=๔+๘+๘+๑๒+๘=๔๐คะแนน

168 การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสังเกต
r =๐.๙๙ r =๐.๑๒ r =๐.๗๒

169 การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือวัด ผลการเรียนรู้

170 ความตรง(Validity) ความเที่ยง/เชื่อมั่น(Reliability)
การตราจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ P16 เครื่องมือวัด ผู้เชี่ยวชาญ ความตรง(Validity) ความเที่ยง/เชื่อมั่น(Reliability) ทดลองกับนักเรียนกลุ่มอื่น นำไปใช้

171 การหาคุณภาพของเครื่องมือวัด
ข้อสอบ ปรนัย ข้อสอบ เขียนตอบ แบบ สังเกต แบบ สอบถาม ความตรงเชิงเนื้อหา(Validity) อำนาจจำแนก B/D/R อำนาจจำแนก t ความยาก สหสัมพันธ์ (Correlation) - Coefficient ความเชื่อมั่น อิงเกณฑ์(rcc),α P17

172 การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัยเลือกตอบ

173 การวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย

174 การวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย(p, r)

175 การวิเคราะห์แบบสอบถาม

176 การวิเคราะห์แบบสอบถาม(r)

177 วางแผนกำหนดจำนวนข้อสอบ
การพัฒนาคลังข้อสอบ วางแผนกำหนดจำนวนข้อสอบ สร้างข้อสอบ Validity Reliability ปรับปรุง เก็บเข้าคลังข้อสอบ นำไปใช้

178 ครูผู้สอน SARครู วิเคราะห์ผู้เรียน ให้เกรด ออกแบบการสอน วัดและประเมินผล เตรียมสื่อ ซ่อมเสริม จัดการเรียนรู้ วัดผลการเรียนรู้

179 วิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล
การยกผลสัมฤทธิ์ P 1 วิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล ออกแบบจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ วัดผล วิเคราะห์ผลสอบ O-NET ให้เกรด จัดทบทวนความรู้ ฝึกทำข้อสอบ ส่งแข่งขันวิชาการทุกสนาม

180 การวิเคราะห์ผลสอบ O-NET เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยกับปีที่ผ่านมา และประเทศ
ภาค ๒ ฝึกทำข้อสอบ ตรวจคะแนนแต่ละ มฐ. สอนเสริมทุกวัน,เสาร์ จัดลำดับ มฐ. ส่งเด็กแข่งทุกสนาม ผล O-NET ปรับปรุงวิธีสอน ดูข้อที่เด็กทำได้น้อย ตั้งเป้าของวิชา ให้เด็กตั้งเป้า P 8


ดาวน์โหลด ppt การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google