วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 3 งานเบื้องต้น วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
งานไม้ เป็นงานที่มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยมานาน ตั้งมนุษย์โบราณ อาศัยถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย และพัฒนามาจนรู้จักนำมาสร้างเป็นที่อยู่อาศัย เครื่องมือการเกษตร เครื่องมือประมง ฯลฯ จึงเกิดเป็นงานช่างไม้ที่มีการถ่ายทอดทักษะและพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งความรู้เบื้องต้นในงานไม้ที่สังเขป มีดังนี้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

3 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
เครื่องมือในงานไม้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

4 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. เครื่องมือประเภทวัด (MEASUREMENT TOOLS) 1.1 ตลับเมตร (STEEL TAPE) เป็นเครื่องมือวัดที่วัดได้ยาวที่สุด พกพาง่ายและสะดวก ปุ่มล็อคใบวัด SREESUPOL 1.2 ฉาก 1.2.1 ฉากตาย (TRY SQUARE) ใช้วัดมุม 45, 90 องศา และตรวจสอบความเรียบของผิวชิ้นงาน12345ตรวจสอบมุม 90˚45˚ 1 2 3 4 5 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

5 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.2.2 ฉากรวม (COMBINATION SQUARE) ใช้วัดระดับ วัดมุม วัดความยาวได้ในตัวเดียวกัน45เหล็กขีดระดับน้ำใบวัด90 1.2.3 ฉากเลื่อน (SLIDE SQUARE) ใช้วัดมุมที่นอกเหนือจากมุมที่ฉากตายวัดไม่ได้ โดยนำไปตั้งค่ามุม กับไม้โปรแทรกเตอร์ หรือไม้ครึ่งวงกลม ° 45 เหล็กขีด ระดับน้ำ ใบวัด 90 90° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

6 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.2.4 ฉากใหญ่ (STEEL SQUARE) ใช้วัดมุม 90 องศา และตรวจสอบความเรียบของพื้นผิวชิ้นงาน ฉากใหญ่นี้จะมีข้อดีในการตรวจสอบการได้ฉากของชิ้นงานที่มีความยาว เพราะใบวัดมีความยาว ซึ่งจะทาบได้สุดตามความยาวของงาน 1.2 ฝักเต้า ใช้ตีเส้นบรรทัดในการผ่าไม้ โกรกไม้ ไสไม้ หรือตีเส้นระดับ มือหมุน เชือกที่ใช้ตีเส้นบรรทัด ขอเกี่ยว ภายในบรรจุผงสีฝุ่นฝุ่น วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

7 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.3. ลูกดิ่ง (PUMB BOB) ใช้ในการวัดมุม 90 องศา เช่นการตั้งเสา ตั้งวงกบบานประตู หน้าต่าง หาจุดศูนย์กลางของหลุมเสา ระยะห่าง เชือก เสา วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

8 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.4 ระดับน้ำ (WATER LEVEL) ใช้ในการหาระดับ 45, 90, 180 องศา หรือใช้ในการวางหาระดับกรก่ออิฐ 45˚ การจับระดับน้ำ 45 ˚ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

9 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
90˚ การจับระดับน้ำ 90 ˚ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

10 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
การจับระดับน้ำ 180 ˚ 180˚ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

11 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.5. ขอขีดไม้ (MARKING GAUGE) ใช้ในการขีดตีเส้นลงบนไม้ในการผ่า โกรก ไส ตะปูเกลียวยึดใบวัด เหล็กขีด ใบวัดปรับเลื่อนได้ ชิ้นงาน วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

12 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. เครื่องมือประเภทตัด (CUTTING TOOLS) 2.1 เลื่อยลันดา 2.1.1 เลื่อยลันดาตัด (CROSS CUT SAW) ใช้ในการตัดหัวไม้ บากไม้ เวลาตัดให้ ฟันเลื่อยทำมุม 45 องศา กับชิ้นงาน ลักษณะฟันจะละเอียด 45 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

13 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2.1.2 เลื่อยลันดาโกรก (RIP SAW) ใช้ในการโกรกไม้ (ผ่าไม้ตามยาว) เวลาโกรกให้ฟันเลื่อยทำมุม 60 องศากับชิ้นงาน ลักษณะฟันจะหยาบ 60 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

14 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2.2. เลื่อยรอ ใช้ในการเลื่อยในร่องไม้ให้เข้าชิดสนิทกันในการเข้าไม้ 2.3. เลื่อยสันแข็ง (DOVETAIL SAW) ใช้ในการเลื่อยตัดปากไม้ทำเดือย ตัดหัวไม้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

15 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2.4. เลื่อยหางหนู (KEYHOLE SAW) ใช้ในการเลื่อยรูกุญแจ รูใส่ดอกลำโพง หรือวงกลม ส่วนโค้ง ที่ไม้มีความหนามาก ๆ 2.5. เลื่อยฉลุ (JIG SAW) ใช้ในการเลื่อยส่วนโค้ง วงกลม ชิ้นงานทีมีความหนาไม่มากนัก หรือเลื่อยไม้อัด 2.5.1 เลื่อยฉลุมือ 5-12” วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

16 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2.5.2 เลื่อยฉลุไฟฟ้า (Electric jig saw) 2.6. เลื่อยตัดองศา (RADAIL SAW) ใช้ในการตัดหัวไม้ให้มีมุมต่าง ๆ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

17 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2.7. เลื่อยวงเดือนไฟฟ้า (CIRCULAR SAW) ใช้ไนการตัด โกรก หรือผ่าไม้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

18 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. เครื่องมือประเภทไส (PLANER TOOLS) 3.1 กบล้าง (JACK PLANE) ใช้ในการไสไม้ให้เรียบตรงในครั้งแรก มีความยาวประมาณ 10 – 20 ซม. วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

19 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3.2 กบผิว (SMOOTH PLANE) ใช้ในการไสไม้ให้เรียบยิ่งขึ้นต่อจากกบล้าง มีความยาวประมาณ 45 ซม. วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

20 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3.3 กบบังใบ (ROBBET PLANE) ใช้ในการทำวงกบบานประตูหน้าต่าง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

21 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3.4 กบบัว (ROUTER PLANE) ใช้ในการไสไม้ทำบัวเชิงผนัง หรือผ้าเพดาน เวลาไสไม้จะเป็นรูปลอนคลื่น วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

22 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3.5 กบราง/ร่อง (GROOVE PLANE) ใช้ในการไสเซาะร่องใส่กระจก ลิ่ม วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

23 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3.6 กบขูดหรือกบกระดี่ ใช้ในการแต่งชิ้นงานในส่วนโค้ง หรือที่แคบ ใบ 3.7 กบไฟฟ้า (ELECTRIC PLANER) ใช้ในการไสล้าง ไสตกแต่งผิวให้เรียบ หรือไสบังใบ มีความง่ายในการใช้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

24 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. เครื่องมือในการเจาะ (DRILL TOOLS) 4.1 สิ่ว (SHICEL) 4.1.1 สิ่วเดือย ใช้ในการเจาะงานที่มีความหนามาก ๆ เช่นเสา 4.1.2 สิ่วปากบาง ใช้ในการเจาะรูสีเหลี่ยมกว้าง ๆ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

25 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4.1.3 สิ่วเล็บมือ ใช้ในการเจาะรูกลม 4.2 สว่าน (DRILL) 4.2.1 สว่านบิลล่าร์ ใช้เจาะชิ้นงานที่มีความหนามาก ๆ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

26 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4.2.2 สว่านข้อเสือ (BACK DRILL) ใช้ในงานไม้ก่อสร้าง 4.2.3 สว่านยนต์มือ/เฟือง (GEAR DRILL) ใช้ในการเจาะงานที่ไม่หนามากนัก วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

27 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4.2.4 สว่านไฟฟ้าแบบมือถือ (ELECTRIC HAND DRILL) มีความคล่องตัวในการใช้งาน เจาะได้ในท่าต่าง ๆ ใช้เจาะคอนกรีต ติดแปรงลวดขัดสนิม หมุนไม้คนสี BOSCH SB 400-2 สัญลักษณ์รูปค้อนใช้เลือกเจาะคอนกรีต สวิทซ์เลือกเจาะ คันโยกปรับทิศทางการหมุน สวิทซ์หมุนปรับลดความเร็วรอบ สวิทซ์ปิด-เปิด วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

28 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4.2.5 สว่านไฟฟ้าแบบตั้งพื้น (ELECTRIC FLOOR DRILL) ใช้ในการเจาะชิ้นงานที่มีความหนา สามารถ ตั้งระยะความลึกในการเจาะได้ ปุ่มล็อคแท่นรองเจาะ มอเตอร์ เสา ฝาครอบพุลเล่ย์และสายพาน มือหมุนเจาะ ฐานเครื่อง ปากจับดอกสว่าน แท่นรองเจาะ สวิทซ์ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

29 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5. เครื่องมืออื่น ๆ (OTHER TOOLS) 5.1 ค้อน (HAMMER) 5.1.1 ค้อนหงอน (CROW HAMMER) ใช้ในการตอก และถอนตะปู 5.1.2 ค้อนไม้ (MALLET HAMMER) ใช้ในการตอกด้ามสิ่ว ตอกประกอบไม้ เข้าเดือย จะทำให้ผิวไม้ไม่เป็นรอยเสียหาย วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

30 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5.2. ไขควง (SCREW DRIVER) 5.2.1 ไขควงปากแบน (FLATE SCREWDRIVER) 5.2.2 ไขควงปากแฉก (PHILLIP SCREWDRIVER) 5.3 บุ้ง (RASP) ใช้ในการถูตกแต่งไม้ รูปร่างคล้ายตะไบ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

31 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5.4 เหล็กส่งหัวตะปู (NAIL SET) ใช้ส่งหัวตะปูจมลงไปในเนื้อไม้ แล้วอุดหรือโป๊วก่อนเคลือบผิว 5.5 แม่แรงไม้ /แคล้มไม้ (WOOD CLAMP) ใช้ในการจับยึดไม้ ติดกาว วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

32 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5.6 แม่แรงอัดไม้ (BARE CLAMP) ใช้ในการอัดไม้ปูพื้น เพลาะไม้ เข้ากรอบรัดเหล็กฉากตู้ลำโพง ฯลฯ 5.7 ซีแคล้ม (C-CLAMP) ใช้ในการยึดไม้ เข้าไม้ เพลาะไม้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

33 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5.8 เครื่องขัดกระดาษทราย (SANDER) 5.8.1 แบบมือถือ รูปร่างคล้ายกบไฟฟ้า มีสายพานกระดาษทรายติดที่ท้อง 5.8.2 แบบตั้งพื้น วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

34 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5.9 เครื่องกลึงไม้ (WOOD LATE) ศูนย์ตาย ศูนย์เป็น มือหมุนเลื่อนศูนย์เป็น ฝาครอบสายพานและพูลเล่ย์ แท่นรองใบมีดกลึง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

35 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5.10 เครื่องเร้าเตอร์/เครื่องทำบัวไม้ (ROUTER) ใช้ในการทำลวดลายลงบนเหลี่ยมไม้ ขอบไม้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

36 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับป่าไม้
วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

37 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ประเภทป่าไม้ ป่าไม้ไล่จากริมทะเลถึงยอดเขาสูง แบ่งได้ดังนี้ 1. ป่าชายเลน เป็นป่าที่อยู่ตามเลนน้ำเค็มริมฝั่งทะเลหรือปากแม่น้ำที่ไหลลงสู่ทะเล ไม้ที่ สำคัญได้แก่ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ตาตุ่ม โพธิ์ทะเล ลำพูน ลำแพน ฯลฯ 2. ป่าพรุ เป็นป่าที่เกิดในบริเวณน้ำขังหรือชุ่มน้ำ ไม้ที่สำคัญได้แก่ เสม็ด เตยน้ำ เป็นต้น 3. ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าที่มีพันธุ์ไม้หลากหลายตั้งแต่ 5 ชนิด ขึ้นไป ผลัดใบในหน้าแล้ง มี ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน ไม้ที่สำคัญได้แก่ ไม้ประดู่ ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้เหียง ไม้ พลวง ตะแบก ไม้สัก 4. ป่าดิบชื้น เป็นป่าไม้ที่มีใบเขียวตลอดปี มีมากทางภาคใต้ ไม้ที่สำคัญคือ ไม้เคี่ยม ไม้ยาง ไม้พ้อ ไม้กะบาก ไม้ซ่าน ไม้รัก 5. ป่าดงดิบ เป็นป่าไม้ที่ขึ้นหนาแน่นเขียวตลอดปีมีความชื้นสูง มีตะไคร่น้ำ เฟริ์น เกาะ ปัจจุบันเหลืออยู่ตามอุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เช่น อุทยานเขาใหญ่ ทุ่งใหญ่นเรศวร ไม้ที่ สำคัญได้แก่ ตะเคียน ชิงชัน มะค่า ลูกหยี พยูง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

38 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ป่าดิบชื้น ป่าดงดิบ ป่าสนภูเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าพรุ ป่าชายเลน ทะเล วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

39 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ป่าดงดิบ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน ป่าดิบชื้น ป่าสนเขา

40 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ป่าพรุ ป่าชายเลน ป่าเบญจพรรณ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน ป่าเต็งรัง

41 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ประเภทเนื้อไม้ 1. ไม้เนื้ออ่อน เป็นไม้ที่เนื้อไม้สีซีดจาง น้ำหนักน้อย เลื่อย ไส ตกแต่งได้ง่าย ใช้ทำ ชิ้นงานในส่วนที่ไม่รับน้ำหนักมากนัก เช่น บานหน้าต่าง ประตู ฝา งานแกะสลัก ไม้ที่สำคัญได้แก่ ไม้สัก ไม้กะบาก ไม้ตะแบก โมกมัน 2. ไม้เนื้อแข็ง เป็นไม้ที่มีสีเข้ม น้ำหนักปานกลาง เลื่อย ไส ตกแต่งค่อนข้างยาก ใช้ท โครงสร้างอาคารในส่วนที่รับน้ำหนักไม่มากนัก เช่น ฝา แป ฝ้า เคร่าไม้ต่าง ๆ ไม้ที่ สำคัญได้แก่ พลวง เหียง ยางนา 3. ไม้เนื้อแกร่ง เป็นไม้ที่มีเนื้อไม้สีเข้มถึงเข้มมากจนถึงดำ เลื่อย ไส ตกตกแต่งได้ยากถึ ยากมาก ใช้ในการทำโครงสร้างที่รับน้ำหนักมาก ๆ เช่น เสา คาน ตง จันทัน หรือ เฟอร์นิเจอร์ ไม้ที่สำคัญได้แก่ พยูง ตะเคียน มะค่า ประดู่ แดง ชิงชัน เต็ง รัง เคี่ยม รัก ฯลฯ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

42 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
การกานไม้ การกานไม้ คือการตัดทางลำเลียงน้ำและอาหารของต้นไม้ ทำให้ไม้แห้งตายยืนต้น เพื่อลดยางลดน้ำหนัก ง่ายในการเคลื่อนย้าย ไม่แตกร้าว บิดงอเวลาเลื่อยแปรรูป วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

43 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ส่วนประกอบของเนื้อไม้ วงปี รัศมี เปลือก กระพี้ แก่น ใจกลาง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

44 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
การแปรรูปไม้ การแปรรูปไม้ เป็นการเลื่อยไม้ให้เป็นแผ่น เป็นซีก ตามประโยชน์ใช้สอย เมื่อเลื่อยออกมาแล้ว เรียกว่า “ไม้แปรรูป” มีขนาดเรียกตามความหนา ความกว้าง ความยาว เช่น ไม้ 1 ½” x 3” x 4.00 ม. ไม้แปรรูปที่มีขายตามท้องตลาดนิยมขายเป็น ชิ้น หรือเป็นยก (1 ยก เท่ากับ ลบ.ฟ.) ชนิดของการแปรรูป 1. แบบแฟลท ซอว์ (FLATE SAW) เป็นการเลื่อยไม้ให้ได้หน้ากว้าง ๆ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

45 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ลักษณะไม้ที่เลื่อยแบบแฟล็ท ซอว์ 1. หน้ากว้าง 2. ไม้ตากลม 3. บิดงอ ห่อง่าย 2. แบบโอวาเตส ซอว์ (OVATES SAW) เป็นการเลื่อยไม้ให้ได้หน้ากว้าง ๆ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

46 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ลักษณะไม้ที่เลื่อยแบบโอวาเตส ซอว์ 1. หน้าแคบ 2. ไม้ตาเป็นหนามยาว 3. บิดงอน้อย 4. รับน้ำหนักได้ดี ไม้อัด (PLYWOOD) ปัจจุบันไม้หายาก ต้องใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และความกว้างหน้าไม้ที่ กว้าง ๆ ไม่มี จึงต้องมีการผลิตไม้อัดขึ้นไม้ใช้ ซึ่งมีขนาดมาตรฐานกว้าง ยาว เท่ากับ 122 ซม. x 244 ซม. มีความหนา 3, 5, 6, 10, 15, 20 ม.ม. ไม้อัดแบ่งได้ดังนี้ 1. ไม้อัดที่ใช้ภายนอก ประทับตราสีแดง 2. ไม้อัดที่ใช้ภายใน ประทับตราสีเขียว 3. ไม้อัดที่ใช้ชั่วคราว ประทับตราสีม่วง 4. แผ่นชิ้นไม้อัดหรือไม้อัดปาร์ติเคิล ใช้งานในร่ม เพราะทำจากเศษไม้หรือขี้เลื่อย อัดกาว อบให้แห้งก่อนนำมาใช้งาน วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

47 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ไม้อัด (PLYWOOD) ปัจจุบันไม้หายาก ต้องใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และความกว้างหน้าไม้ที่ กว้าง ๆ ไม่มี จึงต้องมีการผลิตไม้อัดขึ้นไม้ใช้ ซึ่งมีขนาดมาตรฐานกว้าง ยาว เท่ากับ 122 ซม. x 244 ซม. มีความหนา 3, 5, 6, 10, 15, 20 ม.ม. ไม้อัดแบ่งได้ดังนี้ 1. ไม้อัดที่ใช้ภายนอก ประทับตราสีแดง 2. ไม้อัดที่ใช้ภายใน ประทับตราสีเขียว 3. ไม้อัดที่ใช้ชั่วคราว ประทับตราสีม่วง 4. แผ่นชิ้นไม้อัดหรือไม้อัดปาร์ติเคิล ใช้งานในร่ม เพราะทำจากเศษไม้หรือขี้เลื่อย อัดกาว อบให้แห้งก่อนนำมาใช้งาน 244 122 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

48 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
การเพลาะไม้ การเพลาะไม้ คือ การทำให้ไม้มีหน้ากว้างขึ้น แบ่งได้ดังนี้ 1. การเพลาะไม้แบบเข้าชน 2. การเพลาะไม้แบบบังใบ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

49 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. การเพลาะไม้แบบร่องลิ้น 4. การเพลาะไม้แบบเข้าเดือย วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

50 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
การต่อไม้ การต่อไม้ คือการทำให้ไม้ยาวขึ้นเป็นเส้นตรง (มุม 180 องศา) แบ่งเป็นดังนี้ 1. การต่อไม้แบบเช้าชนมีไม้ดามประกบ 2. การต่อไม้แบบบากปากกบ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

51 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. การเข้าไม้แบบบากปากกบหัวไม้ตัดเฉียง 45 องศา 4. การเข้าไม้แบบบากปากขอ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

52 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5. การต่อไม้แบบร่องลิ้น การเข้าไม้ การเข้าไม้ คือการประกอบไม้สองชิ้นเข้าด้วยกันให้เกิดมุมต่าง ๆ ซึ่งมีดังนี้ 1. การเข้าไม้แบบชนฉาก วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

53 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. การเข้าไม้แบบชน 45 องศา 3. การเข้าไม้แบบชนเฉ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

54 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. การเข้าไม้แบบบากหางเหยี่ยว วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ดาวน์โหลด ppt วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google