งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส สาขาการวัดและประเมินผลทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ค.ด.การวัดและประเมินผลการศึกษา , จุฬาฯ) ประสบการณ์ ข้าราชการครู อาจารย์มหาวิทยาลัย ความเชี่ยวชาญ การวัดและประเมินผลการศึกษา การวิจัยและสถิติทางการศึกษา การประเมินโครงการ อีเมล์ โทร

3 ทำไมต้องมีการวัดและประเมินผลฯ ระดับอุดมศึกษา
ที่มาภาพ 3

4 ทำไมต้องมีการวัดและประเมินผลฯ ระดับอุดมศึกษา
ที่มาภาพ 4

5 การประเมินการเรียนรู้
5

6 เราต้องวัดและประเมินผลอะไรบ้างจากนักศึกษา????
6 ที่มาภาพ

7 เราใช้วิธีการวัดและประเมินผลอะไรบ้าง
ที่มาภาพ 7

8 เราใช้วิธีการวัดและประเมินผลอะไรบ้าง
8

9 เราจะวัดและประเมินผลอย่างไรให้มีความน่าเชื่อถือได้????
มีความเที่ยงตรง (Validity) – วัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัด มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) – มีผลการวัดที่คงที่ แน่นอน มีความยากง่ายพอเหมาะ (Difficulty) – เครื่องมือวัดที่ดีควรมีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับหรือสูงกว่าร้อยละ 50 เล็กน้อยของ คะแนนเต็ม มีอำนาจจำแนก (Discrimination) – สามารถแยกผู้สอบออกระหว่างเก่งอ่อน มีความยุติธรรม (Fairness) – ไม่ก่อให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบต่อกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง มีความเป็นปรนัย (Objectivity) – มีความชัดเจน ตรวจ แปลคะแนนได้ตรงกัน เป็นที่ยอมรับได้ (Acceptability) – เป็นที่ยอมรับของผู้เข้าสอบ/ผู้ถูกประเมิน 9

10 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 10

11 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 11

12 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 12

13 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 13

14 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 14

15 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 15

16 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 16

17 เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล
ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร 17

18 การประเมินตามสภาพจริง
18

19 19

20 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเพื่อพัฒนาโดยดิจิตัล
(Digital Formative Assessment Tools) 20

21 เป็นแอพลิเคชั่น (application) ที่ใช้ในการประเมินเพื่อพัฒนา ใช้ในการให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นด้วยการฝากข้อความ (Note) แปะไว้เหมือนโน้ตหรือโพสต์อิท (Post it) เกี่ยวกับบทเรียนที่พวกเขาได้เรียนรู้ไปแล้วว่าเข้าใจหรือไม่ อย่างไร หรือมีข้อสงสัยอะไร นำมาแปะไว้บนกระดาน/ผ้าใบ ขั้นตอนครูผู้สอนจะสร้างผ้าใบ (Canvas) แล้วกำหนดประเด็นต่างๆ เพื่อให้นักเรียนนำโพสต์ข้อความมาแปะไว้ เพื่อแสดงความเข้าใจของพวกเขา ผ้าใบอาจตั้งเป็น "สาธารณะ", "ส่วนตัว" หรือเข้าถึงได้เฉพาะ "เพื่อน" เท่านั้น หรืออาจตั้งไว้ให้สำหรับนักเรียนที่ลงทะเบียนไว้เท่านั้น ที่จะสามารถดูและโพสต์ข้อความได้ ประโยชน์ ถ้าครูผู้สอนกำลังต้องการให้ข้อมูลย้อนกลับทันที (real time feedback) หรือนักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเมื่อพวกเขาอยู่ที่บ้าน หรือให้ข้อแนะนำครูผู้สอนเกี่ยวกับวิธีการแก้ไขสื่อการเรียนสำหรับบทเรียนต่อไปได้ 21

22 เป็นแอพลิเคชั่น (application ที่สามารถใช้ได้บน iPad หรือ iPhone ได้ สำหรับการสร้างและตรวจข้อสอบปรนัยหลายตัวเลือก (multiple choices) โดยการสแกนกระดาษคำตอบด้วยกล้องบนอุปกรณ์ Apple มันสามารถตรวจให้คะแนนแบบทดสอบทั้งชั้นเรียนได้ภายในเวลาไม่กี่นาทีซึ่งจะช่วยประหยัดเวลา และให้ผลย้อนกลับไปที่นักเรียนได้ทันทีเพื่อปรับปรุง ผลที่ได้จะเห็นการเรียนรู้ในภาพรวม และสามารถดูผลการตอบของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ 22

23 (เว็บไซต์ http://popplet
(เว็บไซต์ เป็นแอพลิเคชั่น (application) ที่ใช้จัดการความคิดออกมาในลักษณะต่างๆ (Graphic Organizer) สามารถนำมาใช้เมื่อต้องการจดบันทึกความคิดและการจัดระเบียบความคิดให้ง่ายขึ้นเป็นแผนที่ความคิด (mind map) กราฟ หรืออารมณ์ๆ สำหรับการประเมินการจัดทำแผนที่ความคิดหรือเครื่องมือระดมสมองถือว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง แอพลิเคชั่นนี้สามารถช่วยให้ครูผู้สอนสามารถตรวจสอบความคิด ความเข้าใจของผู้เรียนในหัวข้อต่างๆที่สอนได้ 23

24 Socrative (เว็บไซต์ https://www.socrative.com/)
ลักษณะคล้ายกับ Popplet ช่วยทำให้เห็นความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อหัวข้อของบทเรียน ครูผู้สอนสามารถสร้างแบบทดสอบบนอุปกรณ์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ตแล็ปท็อป แท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน ครูสามารถตรวจสอบคำตอบของผู้เรียนในภาพรวมของชั้น หรือนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ และยังสามารถรายงานผลในรูปแบบต่างๆตามความต้องการเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับในการปรับปรุงการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนของครูได้ 24

25 Kahoot (เว็บไซต์ https://getkahoot.com/)
เป็นเว็บไซต์ที่เอื้อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในการเรียนโดยใช้การทดสอบในลักษณะเกม คำถามและคำตอบจะถูกฉายบนหน้าจอในห้องเรียนและนักเรียนส่งคำตอบของตนโดยใช้อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของตัวเอง จุดเด่นของเว็บนี้คือ ดึงดูดความสนใจของชั้นโดยใช้สีสันสดใสและเพลงที่จะเพิ่มความลุ้นระทึกไปกับแบบทดสอบ  25

26 26

27 ขั้นตอนของการให้ข้อมูลย้อนกลับมาใช้ตามขั้นตอนของ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป การให้ข้อมูลย้อนกลับ - ครูและนักเรียนสะท้อนผล ประเมิน ตนเอง การให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อ กระตุ้นความก้าวหน้าในการเรียน - การเสริมแรงเพื่อการปรับปรุงพัฒนาเรียนรู้ต่อยอด -ภาระงาน -กระบวนการภาระงาน -การควบคุมตนเอง -การเป็นตัวตนของตนเอง การตรวจสอบความเข้าใจ -การสังเกต ซักถาม -การพูด การนำเสนอ -การเขียน -กระบวนการทำงาน -โครงงาน กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ -การสังเกต -ซักถาม -การแสดงออก -กิจกรรม Feed up Feed back Check for understanding Feed forward 27

28 28 วิธีการให้ข้อมูลย้อนกลับตามกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
การให้ผลสะท้อนกลับเกี่ยวกับผลงาน (task) ว่าผลงานที่ปฏิบัติดีหรือไม่ ถูกต้องหรือไม่ เช่นการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ถูกต้อง หรือการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ผิด 2) การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับกระบวนการ (process) ว่ากระบวนการที่ใช้ในการปฏิบัติงานมีข้อบกพร่องอย่างไร จะแก้ข้อบกพร่องของกระบวนการอย่างไร มีทางเลือกในการปฏิบัติงานด้วยวิธีอื่นหรือไม่ เช่น นักเรียนลองตรวจสอบดูใหม่ซิ ว่าการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ยังมีข้อบกพร่องตรงไหน หรือการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ถูกต้องแล้วแต่มีวิธีการแก้โจทย์ปัญหาวิธีการอื่นหรือไม่ หรือขณะที่แก้โจทย์ปัญหานักเรียนคุยกับเพื่อนอยู่ นักเรียนลองนั่งทำคนเดียวไม่คุยกับเพื่อนดูซิว่าคำตอบจะเหมือนเดิมหรือไม่ 28

29 29 วิธีการให้ข้อมูลย้อนกลับตามกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
3) การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการกำกับติดตามตนเอง (self-regulation) ว่านักเรียนต้องตรวจสอบผลงานได้อย่างไร เช่น นักเรียนทำแบบฝึกหัดไม่ทันเวลา คราวหน้านักเรียนจะทำอย่างไรให้ทันเวลา หรือ คราวนี้นักเรียนลืมนำงานมาส่งครู จะทำอย่างไรไม่ให้นักเรียนลืมอีก 4) การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการประเมินตนเอง (self-personal evaluation) ว่าผลงานของตนเองเป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับเกณฑ์มีคุณภาพระดับใด เช่น นักเรียนพอใจในผลงานของตนเองหรือยัง หรือ ผลงานของนักเรียนมีคุณภาพระดับใด หรือ ถ้าครูให้โอกาสปรับปรุงผลงานอีกครั้ง นักเรียนจะปรับปรุงหรือไม่ ถ้าปรับปรุงจะปรับปรุงอย่างไร 29

30 การสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริกส์ Rubrics Scoring
30

31 มาตรฐานของชิ้นงาน/การฝึกปฏิบัติ
แนวทางการสร้างเกณฑ์ประเมิน กำหนดประเด็นการประเมิน [วิเคราะห์มาตรฐาน/ผลการเรียนรู้] กำหนดระดับคุณภาพ [ควรปรับปรุง / พอใช้ / ดี / ดีเยี่ยม] เลือกวิธีการประเมิน [มองภาพรวม/ มององค์ประกอบย่อย] กำหนดคะแนนเต็ม [สัดส่วนตามคะแนนใน มคอ.3] เกณฑ์การตัดสิน [ผ่าน/ไม่ผ่าน] [ควรปรับปรุง / พอใช้ / ดี / ดีเยี่ยม] ข้อเสนอแนะเพื่อสร้างเครื่องมือประเมินให้สอดคล้องกับ TQF - ประเด็นการประเมินให้มีส่วนที่เชื่อมโยงกับผลการเรียนรู้ใน Domain+1 ของ TQF ตามจุดมุ่งหมายของรายวิชาในหลักสูตร 31

32 เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubric Scoring)
ระดับคุณภาพ ประเด็นประเมิน 32

33 เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ (Analytic Rubric Scoring)
ระดับคุณภาพ ประเด็นประเมิน ความเข้าใจ - ความรู้ ฝีมือ - ผลผลิต/ชิ้นงาน ความคิดสร้างสรรค์ - ทักษะทางปัญญา ความมุ่งมั่น/พยายาม -คุณธรรมจริยธรรม 33

34 แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Rubrics
34

35 35

36 การหาคุณภาพเครื่องมือประเมิน : ความเที่ยงของเครื่องมือ
การหาความเที่ยงระหว่างผู้ประเมินหรือผู้สังเกต แบบที่ 1 การหาความเที่ยงระหว่างผู้ประเมินหรือผู้สังเกต 2 คน ทำการวัดในกลุ่มตัวอย่างคนเดียวกันในเวลา เดียวกัน วิธีที่ 1 Interrater Reliability = จำนวนการสังเกตที่เหมือนกัน จำนวนการสังเกตที่เหมือนกัน + จำนวนการสังเกตที่ต่างกัน 36

37 วิธีที่ 2 การหาดัชนีความสอดคล้องตามสูตรของ Scott
(Intra and inter observer reliability) = Po – Pe 1 – Pe เมื่อ Po คือ ความแตกต่างระหว่าง 1 กับผลรวมของสัดส่วนของความแตกต่างระหว่างผู้สังเกต 2 คน (รวมทั้งข้อหรือทุกลักษณะที่สังเกต) Pe คือ ผลบวกของกำลังสองของค่าสัดส่วนของคะแนนจากลักษณะที่สังเกตได้สูงสุดกับค่ารองลงมา โดยจะเลือกจากผลจากการสังเกตคนใดคนหนึ่งก็ได้ 37

38 วิธีที่ 3 ค่าดัชนีความสอดคล้องของการสังเกต
(Interobserver Reliability : IOR แบบที่ 1) Kappa (K) = Po – Pe 1 – Pe โดยที่ Pe คือ ความสอดคล้องที่คาดหวัง = (a+c)(a+b)+(b+d)(c+d) n n n n Po คือ ความสอดคล้องที่เป็นจริง = (a + d) n เมื่อ a หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คนเห็นว่าเกิดพฤติกรรมตรงกัน b หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตคนที่ 1 เห็นว่าเกิด แต่ผู้สังเกตคนที่ 2 เห็นว่าไม่เกิด c หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตคนที่ 1 เห็นว่าไม่เกิด แต่ผู้สังเกตคนที่ 2 เห็นว่าเกิด d หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คนเห็นว่าเกิดพฤติกรรมไม่ตรงกัน 38

39 วิธีที่ 4 Interobserver Reliability: IOR แบบที่ 2
จำนวนช่วงเวลาที่เห็นด้วย + จำนวนช่วงเวลาที่ไม่เห็นด้วย วิธีที่ 5 Interobserver Reliability / point-by-point Agreement: IOR แบบที่ 3 IOR = A x 100 A + D เมื่อ A = จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คน สังเกตได้ตรงกัน B = จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คน สังเกตได้ไม่ตรงกัน 39

40 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมิน (Rater Agreement Index:RAI)
40

41 41

42 42

43 43

44 44

45 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google