ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพรรัมภา รักไทย ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
2
นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.4 วัย ทำงาน การ ส่งเสริม สุขภาพจิตวัย ทำงาน และ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิตใน กลุ่มเสี่ยงวัย ทำงานที่ป่วย ด้วย โรค เรื้อรัง มีปัญหา ความรุนแรงใน ครอบครัว และมีปัญหา เสี่ยงต่อการ ติดสุรา / ยา เสพติดใน รพช. สถาน ประกอบการ และชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพใน การดูแลทางสังคม จิตใจกลุ่มเสี่ยง วัยทำงานที่ป่วยด้วย โรคเรื้อรัง มีปัญหา ความรุนแรงใน ครอบครัว และมี ปัญหาเสี่ยงต่อการ ติดสุรา / ยาเสพติด ใน รพช. ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการ ส่งเสริม สุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต วัย ทำงาน ในสถาน ประกอบการ ในชุมชนโดย เชื่อมโยงกับ ระบบ DHS เน้ น
3
สุขภาพจิตวัย ทำงาน รพช. สถาน ประกอบการ ชุมชน คลินิคต่างๆ PSYCHOS OCIAL CLINIC NCD บูรณ าการ
4
ประเด็นในการชี้แจง ในการพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนให้มี บริการดูแลด้านสังคมจิตใจที่มีคุณภาพ และเชื่อมโยงกับระบบบริการตามกลุ่ม วัย
5
ในการพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนให้มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจ ที่มีคุณภาพและเชื่อมโยงกับระบบบริการตามกลุ่มวัย หมายถึง การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้หน่วยบริการระดับรพช. มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจที่มคุณภาพใน กลุ่มวัยรุ่น วัยทำงาน โดยมีองค์ประกอบคุณภาพครบทั้ง 3 ด้าน คือ 1. ด้านบุคลากร : มีผู้รับผิดชอบ / ทีมดูแลด้านสังคมจิตใจที่ ได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อรองรับการให้บริการส่งเสริม สุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตามประเด็นปัญหา สำคัญของกลุ่มวัย เช่น ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความรุนแรง สุรา / ยา เสพติด โรคเรื้อรัง
6
2. ด้านบริการ : มีการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตทั้งเชิงรุกและเชิงรับ สำหรับกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง โดยใช้กระบวนการให้ การดูแลด้านสังคมจิตใจ และ / หรือการให้การปรึกษา ในประเด็นปัญหา ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความรุนแรง สุรา / ยาเสพติด โรคเรื้อรัง
7
การบริการเชิงรุก เป็นการให้บริการนอกหน่วยงาน (Out reach) โดยเชื่อมโยงกับเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหา สุขภาพจิต เช่น การรณรงค์ให้ความรู้ การเผยแพร่ ความรู้สุขภาพจิตแก่ชุมชน การคัดกรองและเฝ้า ระวังปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน การจัดกิจกรรมใน ชุมชนร่วมกับเครือข่ายต่างๆ คลินิกสุขภาพจิต เคลื่อนที่ เป็นต้น การบริการเชิงรับ เช่น การให้บริการปรึกษา การ ส่งต่อบริการ / ข้อมูลและติดตามเพื่อได้รับการดูแล ต่อเนื่องทั้งทางด้านสังคมและจิตใจ ส่งต่อเพื่อ ขอรับบริการต่อเนื่องที่ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial clinic) บ้านพักเด็กและครอบครัว ส่งต่อข้อมูลเพื่อติดตามเยี่ยมบ้าน การติดตามทาง โทรศัพท์ เป็นต้น
8
3. ด้านบูรณาการ : เป็นการประสานการดำเนินงาน เพื่อเชื่อมโยงระบบบริการดูแลช่วยเหลือด้านสังคม จิตใจกับหน่วยงานเกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ในการดูแลช่วยเหลือฯ ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่าง ครอบคลุมและต่อเนื่อง เช่น การดูแลช่วยเหลือด้าน สังคมจิตใจนักเรียนในโรงเรียน (OHOS) การดูแล ช่วยเหลือด้านสังคมจิตใจผู้ได้รับผลกระทบจากความ รุนแรงในครอบครัวในศูนย์พึ่งได้ การดูแลช่วยเหลือ ด้านสังคมจิตใจในสถานประกอบการ การดูแล ช่วยเหลือด้านสังคมจิตใจในคลินิกโรคเรื้อรัง เป็นต้น
9
เน้น ให้ครอบคลุม 3 ด้าน 4 ประเด็น 3 ด้าน คือ 1. ด้านบุคลากร 2. ด้านบริการ 3. ด้านบูรณาการ 4 ประเด็น 1. หญิงตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น 2. สุรา / ยาเสพติด 3. ความรุนแรง 4. โรคเรื้อรัง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.