ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวรรณ หงสกุล ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล
2
กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.) ที่ทําหน้าที่เป็นคณะกรรมการบริหาร นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer: CIO) ประจําหน่วยงานของรัฐ
3
กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ทําหน้าที่บริหารและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารตามภารกิจของหน่วยงาน สํานักงานบริหารโครงการ (Program Management Office: PMO) เพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการ ในการ นําแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( ฉบับที่ ๓ ) ปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม
4
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้านนโยบาย และแผน ICT ๑ ) สร้างความตระหนัก ให้กับภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคส่วนอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องในการนําแผนไป ปฏิบัติ (Awareness Building)
5
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน ICT ๒ ) ทําการทบทวน ศึกษา และปรับปรุง ดัชนีชี้วัด ทั้งในภาพรวม และใน แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อให้สามารถนําไปปฏิบัติได้ในแง่ของ ผลสัมฤทธิ์
6
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน ICT ๓ ) อบรม สัมมนา เพื่อให้ความรู้ ในรายละเอียดของยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ มาตรการ และโครงการที่เกี่ยวข้องให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ ถึง ความสําคัญ
7
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน IC ๔ ) กําหนดโครงการและลําดับความสําคัญของโครงการ รวมทั้ง จัดทํา แผนปฏิบัติการสําหรับ โครงการที่จะส่งผลสัมฤทธิ์ของ การนําแผนแม่บท ไปปฏิบัติ
8
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน IC ๕ ) ให้คําแนะนําปรึกษาในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณใน การดําเนินการของ หน่วยงานเจ้าภาพ รวมทั้งเรื่องการบริหารความเสี่ยงของโครงการ
9
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน IC ๖ ) ติดตามและประเมินผลการนําแผนแม่บทไปปฏิบัติในรายปี ในระยะ ครึ่งทาง และเมื่อสิ้นสุด แผนรวมทั้งรูปแบบที่เหมาะสมกับรอบระยะเวลาของการติดตามและ ประเมินผล ตามมาตรฐานสากล
10
แผนที่ นําทาง (Roadmap) เพื่อมุ่งสู่ Smart Thailand 2020
11
ปีที่ ๑ - ๒ พ. ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ : การวางรากฐาน ICT สู่ความฉลาด (Smart Foundation) ประชาชนได้รับการยกระดับให้รู้เท่าทัน ICT (Enhanced ICT Literate People) ชุมชนและท้องถิ่นได้รับการยกระดับด้านอิเล็กทรอนิกส์ (Enhanced e- Rural Community) บริการอิ เล็กทรอนิกส์ เข้าถึงประชาชน (e-Service Reach-out to the People) ความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชนได้รั บการยกระดับ (Enhanced Public- Private Collaboration)
12
ปีที่ ๓ พ. ศ. ๒๕๕๙ : การร่วมดําเนินธุรกรรมใน กลุ่ม AEC อย่างฉลาด (Smart AEC collaboration) การเชื่อมโยงประชาชนและชุมชนไปสู่กลุ่มภูมิภาค AEC (Joined-up People to AEC) การสร้ างความพร้อมในการเข้าสู่ AEC (Joined-p Connection to AEC) การพัฒนาความร่วมมือในบริการอิเล็กทรอนิกส์มุ่งสู่ระดับ AEC (Joined-up e-Service to AEC) การขยายความร่วมมือในการพัฒนาธุรกรรมด้าน e-Business กับพันธมิตร ในระดับ AEC (Joined-up e-Business Transaction to AEC)
13
ปีที่ ๔ พ. ศ. ๒๕๖๐ การพัฒนาสู่ชุมชนฉลาด (Smart Community) การสร้างเครือข่ายร่วมมือกันระหว่างชุมชนในภูมิภาคภายในและสากล (Collaborative Community) การเชื่อมโยงโครงข่ายลงสู่ชุมชนระดับภูมิภาคทั้งภายในและภายนอก (Connected Community Networks) การเชื่อมโยงชุมชนบริการอิเล็กทรอนิกส์ในระดับในภูมิภาค (Connected e-Service Community) การเชื่อมโยงชุมชน e-Business โดยทั่วถึง (Connected e-Business Community)
14
ปีที่ ๕ พ. ศ. ๒๕๖๑ การก้าวสู่บริการอิเล็กทรอนิกส์ อย่างฉลาดในระดับภูมิภาคสากล (Smart Global Services) - การเชื่อมโยงไปสู่ระดับสากล (Mobilized People) - การเชื่อมโยงโครงข่ายไปสู่ระดับสากล (Global Connectivity) - การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เชื่อมโยงถึงกันในระดับสากล (Seamless e-Service Community)
15
ปีที่ ๖ - ๗ พ. ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ การก้าวสู่สังคม อุดมปัญญา (Smart Thailand) ประชาชนพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้าน ICT ของประเทศ (Participatory People) การพัฒนาไปสู่โครงสร้างพื้นฐานที่มี ความคุ้มค่า (Optimal Infrastructure) การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่ฉลาด (Smart Government) การพัฒนาก้าวสู่ยุคธุรกิจสดใส (Vibrant Business)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.