งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน หลักสูตร กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การทบทวน หลังการปฏิบัติ (AAR) ๑๒๓๔ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

3 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) ๑ จัดโครงสร้างเวลาเรียน ปรับปรุง เนื้อหาภายในแต่ละวิชา

4 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Heart Hand & Health การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ๒ Head กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 2 3 4

5 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ประเมินความพึงพอใจ “ ผ่าน ” และ “ ไม่ผ่าน ” การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การวัด และประเมินผล ๓ ความก้าวหน้าพัฒนาการของ นักเรียนเป็นรายบุคคล หมวด 1 หมวด 2-4 บันทึกผลการประเมินเป็นแฟ้ม สะสมงาน (Portfolio)

6 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ Bloom Taxonomy ประเมินค่า บุคลิกภาพ ความเป็นธรรมชาติ พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย

7 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)  แบ่งการเรียนรู้เป็น ๖ ระดับ Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การประยุกต์ ความเข้าใจ ความรู้ที่เกิดจากความจำ Cognitive Domain

8 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ด้านพุทธิพิสัย (พฤติกรรมด้านสมอง) (Cognitive Domain) ความรู้ (Knowledge) สามารถในการจำความรู้ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มา ความเข้าใจ (Comprehension) สามารถในการแปลความ ขยายความในสิ่งที่ได้เรียนรู้ การนำไปใช้ (Application) สามารถในการใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อนให้เกิดสิ่งใหม่ การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถในการแยกความรู้ออกเป็นส่วน ทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์ หรือแตกต่างกัน อย่างไร การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถในการรวมความรู้ต่างๆ หรือประสบการณ์ต่างๆ ให้เกิดเป็นสิ่งแปลกใหม่ การประเมินค่า (Evaluation) สามารถในการตัดสินใจคุณค่าอย่างมีเหตุ มีผล

9 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) การรับรู้ การตอบสนอง คุณค่า ค่านิยม การจัดระบบ บุคลิกภาพ

10 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) การรับรู้ (Recive) ตั้งใจ สนใจในสิ่งเร้า การตอบสนอง (Respond) มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น คุณค่า ค่านิยม (Value) รู้สึกซาบซึ้งยินดี และมีเจตคติที่ดีต่อสิ่งนั้น การจัดระบบ (Organize) เห็นความแตกต่างในคุณค่า, แก้ไขความขัดแย้ง สร้างปรัชญาหรือเป้าหมายให้กับตนเอง บุคลิกภาพ (Characterize) ทำให้เป็นคุณลักษณะหนึ่งของชีวิต

11 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) การรับรู้ การลงมือปฏิบัติ ทำตาม ความถูกต้อง ความชัดเจน ต่อเนื่องในการปฏิบัติ ความเป็นธรรมชาติ

12 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) การรับรู้ (Imitation) รับรู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง หรือเลือกแบบที่สนใจ การลงมือปฏิบัติ ทำตาม (Manipulation) ทำตามแบบได้ ความถูกต้อง (Precision) ทำได้ถูกต้องด้วยตนเอง โดยไม่ต้องชี้แนะ ความชัดเจน ต่อเนื่อง ในการปฏิบัติ (Articulation) เรียนรู้วิธีการถูกต้องตามขั้นตอน อย่างรวดเร็ว คล่องแคล่ว ความเป็นธรรมชาติ (Naturalization) แสดงพฤติกรรมเป็นประจำ เป็นอัตโนมัติ จนกลายเป็นธรรมชาติ

13 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้

14 ตัวอย่างการวัดและประเมินผล การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ประเด็นการวัดและประเมินผลวิธีการวัดและประเมินผลเครื่องมือวัดและประเมินผล การทำงานเป็นทีมสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ  แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) ทักษะการแก้ปัญหา- ตรวจผลงาน การปฏิบัติงาน - สอบถามความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมของ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง  แบบประเมินประเมินผลงาน  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) - แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม ทักษะการคิดวิเคราะห์ตรวจผลงาน (ภารงาน/ ชิ้นงาน)  แบบประเมินผลงาน  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) คุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน กตัญญู) - สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ - สอบถามความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมของ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง  แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric)  แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม

15 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สพป./สพม. สถานศึกษา สพฐ. การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การทบทวน หลังการปฏิบัติ After Action Review (AAR) ๔ สัปดาห์ละครั้ง เดือนละครั้ง ภาคเรียนละครั้ง - ดำเนินการทันทีหลังปิดภาคเรียน - ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป - รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป - ดำเนินการทันทีหลังปิดภาคเรียน - ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป - รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป

16 แนวทางการบริหารจัดการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ”

17 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทของครู  เข้าใจแนวคิดที่ว่า “ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง” โดยเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่ภายในเข้ากับการได้ลงมือปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ  ต้องตระหนักว่า “การจัดการศึกษาแก่นักเรียนนั้นควรส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้” ไม่ใช่เน้นแต่เพียงเนื้อหา ความรู้  มีบทบาทเป็น “ผู้แนะนำ สร้างบรรยากาศและจัดสถานการณ์ ที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง” มากกว่าการเรียน จากคำบอกของผู้สอน  ออกแบบ “สร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน” มากกว่าการเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้หน้าห้องเพียงอย่างเดียว

18 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google