ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยปวีณา ติณสูลานนท์ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
3
เป็นคนดัง... ใครๆก็รัก
5
เครื่องเทอร์โมแสกน ที่สนามบิน
7
คุณตรวจสุขภาพครั้งสุดท้าย เมื่อไหร่ ?
10
Tons of Tool ISO BSC 6 Sigma LEAN EVA GG TQM RBMRBM ABC ¤Φξ KM ERM CM
11
จะมีเครื่องมืออะไร มาช่วยในการ บริหารให้บรรลุพันธ กิจและบูรณาการ เรื่องเหล่านี้เข้า ด้วยกัน ?
12
Public Sector Management Quality Award ระบบคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ
13
13 การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
14
วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของ ภาครัฐให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับ มาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมิน ตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการของ หน่วยงานภาครัฐ
15
ประกอบด้วย : โครงร่างองค์กร และเกณฑ์การดำเนินการที่เป็น เลิศ 7 หมวด ได้แก่ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกล ยุทธ์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ
16
6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และ ความท้าทาย เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ
17
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการ 2551-2555 สามารถแยกออกได้เป็น 4 ประการ ดังนี้ 1. ยกระดับการให้บริการและการทำงาน เพื่อ ตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของ ประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว 2. ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณา การ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้าง เครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 3. มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถ ในการ เรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้ อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 4. สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความ โปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมี จิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อ ประชาชน และต่อสังคมโดยรวม
18
1. Continuous improvements 2. Breakthroughs 3. Standardization Continuous improvements Breakthroughs Standardization
19
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงาน พื้นฐานที่จำเป็นเพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบใน ทุกข้อและทุกหมวด
21
เชื่อมโยง ม 1,3,6
24
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level )
25
25 รหัสแนวทางการดำเนินการ การนำองค์การ LD1ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่อง วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้น ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่ บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้ การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) LD 2ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ(empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการ เดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27) LD 3ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูร ณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้ บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) LD 4ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการ ทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วน ราชการให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) หมวด 1 การนำองค์การ
26
26 รหัสแนวทางการดำเนินการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม LD 5 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของส่วนราชการ และ เพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล ส่วนราชการต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการ รองรับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 6 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดี รวมถึง พัฒนา ระบบตรวจสอบภายในให้เป็นไป ตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 7ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่ เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือ มาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ(พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) หมวด 1 การนำองค์การ
27
มีความสามารถ สร้างและจัดการองค์กร คุณสมบัติส่วนตัว พฤติกรรม ความน่าเชื่อถือ ความซื่อตรง กำหนดทิศทางได้ ชัดเจน สามารถสร้าง แรงบันดาลใจ คุณสมบัติสำคัญผู้นำที่ดี
28
28
29
29
30
30
31
31
32
32 รหัสแนวทางการดำเนินการ ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) CS2 ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสาร ดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,40) การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS3 ส่วนราชการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการรวบรวมข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำ ชมเชย ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียได้อย่าง ทันท่วงที (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS4 ส่วนราชการได้นำข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย ใน CS 3 มาวิเคราะห์เพื่อกำหนด วิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและหรือการปฏิบัติงานให้เหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS5ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
33
33 รหัสแนวทางการดำเนินการ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 ส่วนราชการต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมต่างๆอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมติดตามประเมินผลการบริหารจัดการของ ส่วนราชการ โดยการให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ประชาชน (Inform) ให้โอกาสร่วมแสดงความคิดเห็น (Consult) มีการดำเนินการร่วมกัน(Collaborate) ร่วมกันติดตามตรวจสอบ (Involve) รวมทั้งให้การเสริม อำนาจ (Empower) แก่ประชาชน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) CS7 ส่วนราชการมีการวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) CS8 ส่วนราชการมีการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนด ไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) CS9 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐาน คู่มือ แนวทางการปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการ ระยะเวลาแล้ว เสร็จของงานบริการในแต่ละงาน โดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41) CS10ส่วนราชการต้องกำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการเพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงการบริการให้ สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,45) หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
34
การไปช่วยเหลือประชาชนนั้นต้อง รู้จักประชาชน ต้องรู้ว่าประชาชนต้องการอะไร ต้องอาศัยวิชาความรู้ในการ ช่วยเหลือ พระราชดำรัส ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๗รับบริการ
35
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล รหัสแนวทางการดำเนินการ การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร HR 1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้าง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็น ธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน ให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 47) การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ HR 3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ(ม 2) เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผล ตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 47) HR 4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมิน ประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20) HR 5ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและ กำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร
36
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัสแนวทางการดำเนินการเกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 12345 มิติด้านประสิทธิผล RM 1ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการ ได้สำเร็จตามมเป้าหมาย 6065707580 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการ ให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ 6570758085 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลา ที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้ จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 39) 6065707580 RM 4ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลา ที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำ คู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 40) 6065707580 RM 5กรณีส่วนราชการที่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน กรณีส่วนราชการไม่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม 68 92 71 93 74 94 77 95 80 96 RM 6ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง6065707580
37
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัสแนวทางการดำเนินการเกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 12345 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 7ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผน พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร 6065707580 RM 88.1ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่ สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ 8.2ร้อยละของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานนำเข้าระบบบูรณาการ ข้อมูลสถิติภาครัฐ(statXchange)โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและ สำนักงานสถิติแห่งชาติ(สสช.)และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มี ความครบถ้วนและถูกต้องเพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน 6065707580 RM 9ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมตาม แผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 60708090100 RM 10ร้อยละความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การ ที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ 6065707580
38
อะไรก็เกิดขึ้นได้ในอนาคต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.