ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยฟุ้งฟ้า ติณสูลานนท์ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
2
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม ที่ติดต่อกันเป็น แปลงใหญ่ 2. เพื่อทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรอง ของเกษตรกรตลอด กระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การ แปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 3. ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในภูมิภาคทุก หน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมใน แปลงที่กำหนดใช้ระบบการส่งเสริมเป็นแปลงใหญ่ในแต่ละ จังหวัด 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม ที่ติดต่อกันเป็น แปลงใหญ่ 2. เพื่อทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรอง ของเกษตรกรตลอด กระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การ แปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 3. ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในภูมิภาคทุก หน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมใน แปลงที่กำหนดใช้ระบบการส่งเสริมเป็นแปลงใหญ่ในแต่ละ จังหวัด เป้าหมาย 1. ดำเนินการในพื้นที่เป้าหมาย อาทิ พื้นที่ในเขต ชลประทาน พื้นที่ปฏิรูปที่ดิน พื้นที่ในเขตสหกรณ์นิคม และ พื้นที่เกษตรทั่วไป ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาการ เกษตรและสหกรณ์ ของจังหวัดพิจารณาคัดเลือก พื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อดำเนินการใน 76 จังหวัด 2. มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต การถ่ายทอด เทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การผลิต จนถึงการตลาด 3. มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการ ผลิต 4. ผลิตผู้จัดการภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเกษตรกรที่เป็น smart farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 5. ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ส่งเสริม ระบบการเกษตรแบบแปลงใหญ่เพื่อให้เห็นผลและเกิดการ ขยายผล 1. ดำเนินการในพื้นที่เป้าหมาย อาทิ พื้นที่ในเขต ชลประทาน พื้นที่ปฏิรูปที่ดิน พื้นที่ในเขตสหกรณ์นิคม และ พื้นที่เกษตรทั่วไป ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาการ เกษตรและสหกรณ์ ของจังหวัดพิจารณาคัดเลือก พื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อดำเนินการใน 76 จังหวัด 2. มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต การถ่ายทอด เทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การผลิต จนถึงการตลาด 3. มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการ ผลิต 4. ผลิตผู้จัดการภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเกษตรกรที่เป็น smart farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 5. ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ส่งเสริม ระบบการเกษตรแบบแปลงใหญ่เพื่อให้เห็นผลและเกิดการ ขยายผล
3
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขั้นตอน การดำเนินการ ขั้นตอน การดำเนินการ
4
(6) สพถ. ส่ง File ข้อมูล ( ตาม 5) ให้ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทำ การ TAB file กับฐานข้อมูลโครงการ พัฒนาภูมิปัญญาทางบัญชีสู่บัญชีต้นทุน อาชีพและโครงการพัฒนาเกษตรกร ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ทำการคัด แยกกลุ่มเป้าหมายเก่า - ใหม่ ( เป้าหมายเก่า เคยสอนบัญชีแล้ว เป้าหมายใหม่ยังไม่เคย สอนบัญชี ) จัดทำเป็น File Excel เพื่อให้ สตส. ใช้เป็นข้อมูลเป้าหมายที่รับการสอน แนะ (7) สพถ. รวบรวมข้อมูล ( ตาม 6) ส่ง File Excel ( ตาม 5) ให้ สตส. / กรมฯจัดสรร งบประมาณให้ สตส. ตามจำนวนเป้าหมาย รายจังหวัด เพื่อใช้ในการอบรมสอนแนะ การจัดทำบัญชี (8) สตส. ดำเนินการจัดอบรมสอนแนะการ จัดทำบัญชีโดยจัดหลักสูตรอบรมสอนแนะ การทำบัญชีให้สอดรับกับกลุ่มเป้าหมาย เก่า - ใหม่ (9) สตส. ติดตามผลการจัดทำบัญชี ภายหลังจากอบรมไปแล้ว 3 เดือน ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ร่วมบูรณาการในขั้นตอนที่ 4. “ การถ่ายทอดองค์ความรู้และ เทคโนโลยีให้แก่เกษตรกร ผู้เข้าร่วมโครงการ ” โดย (1) สตส. เข้าร่วมประชุม คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ ระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่า ราชการจังหวัดเป็นประธาน ทำหน้าที่ คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย (2) สพถ. เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการขับเคลื่อนระบบการ ส่งเสริมการเกษตรให้เป็นแปลงใหญ่ และการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้า เกษตร ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 25 พ. ค.2558 รับทราบพื้นที่เป้าหมาย (3) สพถ. ส่งข้อมูลแปลงพื้นที่ เป้าหมายตามผลการคัดเลือกของ สศก. ( ตามหนังสือที่ กษ 1304/ ว 1573 ลว.15 พ. ค.2558) ให้ สตท. 1-10 และ สตส. 77 จังหวัด ( ตาม หนังสือ ที่ กษ 0406/ ว 246 ลว. 26 พ. ค.2558) (4) ผู้บริหารกรมฯ และ สพถ. เข้าร่วม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ ขับเคลื่อนระบบการส่งเสริม การเกษตรให้เป็นแปลงใหญ่ และการ ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร เมื่อ 26 พ. ค.2558 เพื่อรับมอบ นโยบายรัฐมนตรีว่าการฯ / ประธาน คณะกรรมการนโยบายและ แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ และ Action Plan ของกระทรวงฯ ( เอกสารประกอบ 1 และ 2) (5) สตส. ร่วมบูรณาการกับหน่วยงาน ในพื้นที่จังหวัด / คณะอนุกรรมการฯ จังหวัด ขอทราบรายละเอียดจำนวน เกษตรกร ตามเลขประจำตัว 13 หลัก และข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรแต่ละ รายในพื้นที่เป้าหมายของจังหวัด ตามตัวอย่างจังหวัดปทุมธานี ( เอกสาร ประกอบ 3) ในรูปแบบ File Excel และ ส่งข้อมูล File Excel ไปยัง สพถ. ภายใน 3 วัน นับแต่ได้รับข้อมูล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.