งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด ปัญหา โดยอาศัยการค้นคว้าเป็น หลักฐาน Seminar : “a group of students studying under a professor, doing original research and study and then discussing the result”

2 คำว่า seminar มาจาก ภาษาลาตินว่า "seminarium" แปลว่า แปลงเพาะเมล็ดพันธุ์ ภาษาลาติน ส่วนคำ " สัมมนา " มาจาก คำภาษาบาลีสมาสกัน คือ สํ ( รวม ) + มนา ( ใจ ) = รวมใจภาษาบาลี

3 สัมมนา ( อังกฤษ : seminar) ปรกติหมายถึง รูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษาหรือบริษัทต่าง ๆ โดย แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็กเพื่ออภิปราย เรื่องราวเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของบทเรียน ด้วยบทบาทที่สูง อังกฤษการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษาบริษัท ปรัชญาเบื้องหลังการเรียนการสอน แบบสัมมนา ได้แก่ การสอนผู้เรียนให้เผชิญ และคุ้นเคยกับวิธีการ (methodology) ในการ ค้นคว้าสาขาวิชาการที่ตนเลือก สัมมนา ประกอบด้วยการการยกปัญหา การถาม - ตอบ แล้วอภิปรายหาข้อสรุปหรือคำตอบ ปกติ เอกสารที่เตรียมมาสัมมนาจะต้องเป็นเอกสาร ที่มีรูปแบบวิชาการและจะต้องมีการวิจารณ์ ซึ่งกันและกัน สัมมนาใช้มากในการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาวิธีการ

4 Introduction to Seminar

5 INTRODUCTION สัมมนา เป็นเทคนิคการสอนที่กลุ่มผู้เรียน ศึกษาเรื่องที่ตนทำวิจัยหรือเป็นความรู้ ระดับสูง ผู้เรียนจะต้องเรียนโดยการนำและ ดูแล จากผู้สอน ด้วยวิธีการอภิปราย รายงานวิจัยที่เป็นหัวข้อที่ผู้สอนและผู้เรียน มีความสนใจร่วมกัน (Good, 1987) สัมมนาเป็นการจัดสอนแบบสัมมนา เป็นการ เพิ่มพูนความรู้โดยผู้เรียนและผู้สอนช่วยกัน เลือกเรื่องที่จะนำมาเรียนรู้ร่วมกัน เช่น การ ที่ผู้เรียนนำผลงานวิจัยเสนอต่อเพื่อน เพื่อ อภิปรายงานของตน หรือการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญบางสาขามาอภิปรายให้กระจ่าง ชัดยิ่งขึ้น ( เฉลิมและสมคิด,2522)

6 INTRODUCTION สัมมนา (Seminar) เป็นการรวบรวมข้อมูลความรู้ หลักฐานของความรู้ หรือการค้นคว้าวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งเป็น หัวข้อ / เรื่องที่ผู้ทำสัมมนาสนใจและได้ ทำการศึกษามาอย่างละเอียดลึกซึ้งแล้ว เพื่อ นำมาเสนอผลงาน โดยการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ เพื่อหา ข้อสรุปหรือข้อคิดเห็นจากการทำสัมมนา

7 INTRODUCTION S= Specialized E= Exchange Knowledge M= Most interesting Issue I = Identification Topic N= Neatly Work A= Amount of Information R= Research Support

8 INTRODUCTION S = เฉพาะ E = แลกเปลี่ยนความรู้ m = ฉบับที่น่าสนใจที่สุด I = กำหนดหัวข้อ N = เรียบร้อยการทำงาน A = จำนวนของข้อมูล R = สนับสนุนการวิจัย

9 ขั้นตอนการทำ สัมมนา กำหนดหัวข้อเรื่องที่สนใจศึกษา ค้นคว้าแหล่งความรู้ / ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) วางเค้าโครงเรื่องย่อยตามการค้นคว้า เขียนเค้าโครง (Proposal) ที่ได้วางไว้พร้อมทั้งเอกสารอ้างอิงจากการค้นคว้า ปรึกษาอาจารย์ / ผู้เชี่ยวชาญเพื่อแก้ไข / ปรับปรุงก่อนนำเสนอในที่ประชุม นำเสนอในที่ประชุม

10 องค์ประกอบของสัมมนา หัวข้อเรื่อง (Topic) บทนำ (Introduction) การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) สรุปผลการทดลองและวิจารณ์ (Conclusion and Discussion) เอกสารอ้างอิง (Reference)

11 หัวข้อเรื่อง (Topic) ต้องมีความกระชับได้ใจความ (Concise) ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือยจนเกินไป ต้องมีขอบเขต (Scope) และมีความ เกี่ยวเนื่องอยู่ภายในหัวข้อเรื่อง การตั้งหัวข้อเรื่องมีหลักคือ อธิบายปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง + ผลติดตาม + ขอบเขตการศึกษา เช่น ที่อับชื้นทำให้เกิดราดำ เป็นอันตรายต่อ สุขภาพผู้ใช้อาคาร ไม่ควรใช้คำที่ซ้ำซ้อน จนไม่ได้ใจความ เช่น การศึกษาการเพิ่มจำนวนผู้ใช้พื้นที่การทำ กิจกรรมสาธารณะใน กทม.

12 บทนำ (Introduction) กล่าวถึงความเป็นมาของการศึกษาในการ ทำสัมมนาว่าเป็นอย่างไร สถานการณ์ในปัจจุบัน เหตุจูงใจข้อดีของการนำมาศึกษา โยงความสัมพันธ์ระหว่างงานวิจัย / ผลสรุปที่ เคยทำมาแล้วกับสิ่งที่คาดว่าจะหาข้อสรุป จากการสัมมนา

13 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) เป็นการค้นคว้าข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะ จากเอกสาร / บทความ / งานวิจัย / หนังสือ ตำรา /Internet/ etc. โดยอ้างอิงชื่อ หรือ คณะบุคคลที่ได้ทำการศึกษางานที่ เกี่ยวข้องมาก่อนหน้านี้ พร้อมระบุปีที่ได้อ้าง ถึง จำเป็นต้องมีความรู้ การเขียน เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรรม ข้อดีคือ จะทำให้ผู้ทำสัมมนาเกิดความคิด เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ จากการสัมมนาที่สนใจศึกษาได้ ปริมาณการทำ Literature Review ต้องมี มากที่สุดเท่าที่สามารถค้นคว้าได้ จะทำให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ทำให้เราไม่ต้อง เสียเวลาในการศึกษางานที่ผู้อื่นได้ทำ มาแล้ว

14 สรุปผลการทดลองและวิจารณ์ (Conclusion and Discussion) เป็นการหาข้อสรุปจากวรรณกรรมที่ได้ ค้นคว้ามาจากงานวิจัย / บทความ / ทฤษฎี ความรู้ ในลักษณะการอภิปรายเปรียบเทียบ ผลที่ได้ ในเหตุผลที่สนับสนุน / หรือขัดแย้ง จากการศึกษานั้นๆ มีการสังเคราะห์ความรู้การอภิปรายจากผู้รู้ / อาจารย์ที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ โดยตกผลึก เกิดเป็นข้อคิดสรุปรวบยอด จากงานที่ได้ ศึกษา ทำให้ทราบข้อมูลจริง (FACT) ของการศึกษา และสามารถนำความรู้นี้เพื่อไปใช้ในขั้นตอน การทดลองและวิจัยต่อไป (Experiment and Research)

15 เอกสารอ้างอิง (Reference) เป็นการเขียนข้อมูลทางบรรณานุกรมของ เอกสารทางวิชาการ / งานวิจัยอย่างมีระบบ และถูกต้องตามหลักเกณฑ์การเขียน เอกสารอ้างอิง เช่น จุฬารัตน์ ปริชาติกุล และเกษแก้ว เพียรทวิชัย แบคทีเรียคลีนิกพื้นฐาน ขอนแก่น. โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.2542 Lee YK and Salminen S. The coming of age of probiotic. Trend in Food Science and Technology. 1995; 6:241-245. ** ศึกษาได้เพิ่มเติมในหลักการเขียน บรรณานุกรรม / เอกสารอ้างอิง ใน ห้องสมุด / Internet

16 แหล่งค้นคว้าข้อมูลการสัมมนา ห้องสมุด (Library)

17 Got some Idea for a seminar topic ?


ดาวน์โหลด ppt INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google