ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยปรีดา บราวน์ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จ. นครศรีธรรมราช
2
หัวข้อการนำเสนอ หลักการสำคัญและเป้าหมายของการดำเนินการ TQF การนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ สถานะการจัดทำ TQF แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต
3
หลักการสำคัญ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ต่อการรับรอง มาตรฐานคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษา การ แลกเปลี่ยนนักศึกษา คณาจารย์ นักวิจัย การ เคลื่อนย้ายแรงในภูมิภาคและระดับสากล
4
เป้าหมาย มาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชาที่ครอบคลุม ศาสตร์ที่เปิดสอน ทุกหลักสูตรสอดคล้องตาม TQF ภายในปี การศึกษา 2556 การขึ้นทะเบียนหลักสูตร หลักสูตรมีมาตรฐานเทียบเคียงได้ในระดับ ภูมิภาคและระดับสากล
5
การนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ
6
สถานะการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา ( มคอ.1) ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 11 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์ พยาบาลศาสตร์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) โลจิสติกส์ การ ท่องเที่ยวและ การโรงแรม วิศวกรรมศาสต ร์ บัญชี ครุ ศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ และแพทย์แผน ไทยประยุกต์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) กายภาพบำบัด ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) จำนวน 16 สาขา ได้แก่ อุตสาหกรรม เกษตร สัตว - แพทยศาสตร์ การ บริหารการศึกษา ( บัณฑิตศึกษา ) รัฐประศาสนศาสตร์ ( ตรี - โท - เอก ) บริหารธุรกิจ ศิลปกรรมศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ทันต แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศาสตร์ เภสัช - ศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ สังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ นิเทศ ศาสตร์ เทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) ระหว่างดำเนินการ อยู่ระหว่างการ พิจารณา จำนวน 4 สาขา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การเกษตร ป่าไม้ และประมง ประวัติศาสตร์ การแพทย์แผน ไทย
7
แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ขยายการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา และ สนับสนุน / ส่งเสริมการนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ การขึ้นทะเบียนหลักสูตร ในสาขาวิชานำร่อง ได้แก่ สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการ ท่องเที่ยวและการโรงแรม และ สาขาวิชาโลจิสติกส์ ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อนำไปสู่ การลดกฎระเบียบ / ขั้นตอนในการนำเสนอ / ไม่ นำเสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ การเทียบเคียง TQF ระดับภูมิภาคและระดับสากล (ASEAN Qualification Reference Framework, EU และ Australia)
8
แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) ขยายการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา และ สนับสนุน / ส่งเสริมการนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ - เร่งรัดดำเนินการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชาให้ครอบคลุมศาสตร์ที่เปิดสอนใน สถาบันอุดมศึกษา - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และประชุมวิชาการ เป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ TQF การจัดทำหลักสูตร กลยุทธ์การ สอนและการประเมินผล
9
แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) การขึ้นทะเบียนหลักสูตร ในสาขาวิชานำร่อง ได้แก่ สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว และการโรงแรม สาขาวิชาโลจิสติกส์ และ / หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิกำหนดให้ขึ้นทะเบียน หลักสูตรเมื่อสอนได้กึ่งหนึ่งของระยะเวลาหลักสูตร - รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ จะเสนอให้อนุกรรมการ TQF พิจารณา - ในระยะแรก ควรให้มีการขึ้นทะเบียนหลักสูตรใน สาขาวิชานำร่อง 3-4 สาขาวิชา - การจัดทำ TQF-IS เพื่อรองรับการขึ้นทะเบียน หลักสูตร และการนำเสนอหลักสูตร
10
แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อ นำไปสู่การลดกฎระเบียบ / ขั้นตอนในการ นำเสนอ / ไม่นำเสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ - สถาบันอุดมศึกษามีแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับ สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ - หลักสูตรที่มีผลการดำเนินการตาม TQF ที่ดี อย่างต่อเนื่อง สถาบันอุดมศึกษาอาจไม่ต้อง เสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ
11
แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต การเทียบเคียง TQF ระดับภูมิภาคและระดับสากล (ASEAN Qualification Reference Framework, EU และ Australia) - การมีส่วนร่วมในการจัดทำ ASEAN QRF เพื่อรองรับ AEC - การเสนอให้จัดทำ ASEAN QRF ระดับสาขา / สาขาวิชา ในศาสตร์ที่ไทยมีความเข้มแข็ง อาทิ อุตสาหกรรม เกษตร - ความร่วมมือทางวิชาการกับ EU ภายใต้โครงการ Tuning Education Structure for Internationalization ใน 3 สาขาวิชาเพื่อร่วมพิจารณาเทียบเคียงหลักสูตรที่ พัฒนาตามกรอบ TQF กับนานาชาติ - ความร่วมมือทางวิชาการกับออสเตรเลีย เพื่อให้ คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจการออกแบบหลักสูตร และกลยุทธ์การสอนและประเมินผล
12
การเทียบเคียง TQF ในระดับสากล สากล การร่วมมือทางวิชาการกับสหภาพยุโรป (European Union : EU) Tuning Education Structures for Internationaliza tion เพื่อการรับรองมาตรฐานและคุณวุฒิ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยวและการโรงแรม วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
13
ขอบคุณค่ะ Thank you for your Attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.