ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
Advertisements

หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
แสงและการมองเห็น Your Text Here.
ความเค้นและความเครียด
แสงสีและทัศนูปกรณ์.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ยุคแรก ยุคแรก Motorola DynaTAC 8000X (1983)
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Watt Meter.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แผ่นดินไหว.
การเพิ่มประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้แผ่นระบายความร้อนแบบมีครีบ
Ernest Rutherford.
สมบัติของคลื่น.
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
มูลค่าพลังงาน.
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 5 แสงและทัศนะศาสตร์ Witchuda Pasom.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
นางสาววิภัทรา จันทร์แดง เลขที่ 31 ม.4.2
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ความดัน (Pressure).
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ศาสนาเชน Jainism.
Nuclear Symbol kru piyaporn.
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน โลกของคลื่น
ยิ้มก่อนเรียน.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
5.ไทยต้องจัดตั้งองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก article4 – C
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light การแทรกสอด (Interference / superposition) การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ การสะท้อนกลับเฟส แสงโพลาไรส์ 01420118 ฟิสิกส์เบื้องต้น II 2/2556 ภุชงค์ กิจอำนาจสุข http://pirun.ku.ac.th/~fscipuki/118

ธรรมชาติของแสง (The Nature of Light) แสง (visible light) คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตามนุษย์สามารถรับรู้ได้ 380 nm 740 nm 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

ธรรมชาติของแสง (The Nature of Light) แสง มีสมบัติทวิภาค (duality) “Light exhibits the characteristics of a wave in some situations and the characteristics of a particle in other situations.” “แสงแสดงสมบัติของ คลื่น ในบางสถานะการณ์ และแสดงสมบัติของ อนุภาค ในบางสถานะการณ์” 𝑬=𝒉𝒇 ค่าคงตัวของแพลงค์ 𝒉=𝟔.𝟔𝟑×𝟏 𝟎 −𝟑𝟒 𝐉⋅𝐬 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

(Reflection) (Refraction) (Interference) (Diffraction) แทรกสอดแบบหักล้างกัน

ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light การแทรกสอด (Interference / superposition) การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ การสะท้อนกลับเฟส แสงโพลาไรส์ 01420118 ฟิสิกส์เบื้องต้น II 2/2556 ภุชงค์ กิจอำนาจสุข http://pirun.ku.ac.th/~fscipuki/118

การแทรกสอด (Interference) แทรกสอดแบบเสริมกัน Constructive interference แทรกสอดแบบหักล้างกัน Destructive interference

การแทรกสอด (Interference)

การแทรกสอด (Interference) เงื่อนไขการการแทรกสอด The sources must be coherent; that is, they must maintain a constant phase with respect to each other. แหล่งกำเนิดแสงอาพันธ์ คือมีความถี่เดียวกันและความต่างเฟสคงตัว The sources should be monochromatic; that is, they should be of a single wavelength. แหล่งกำเนิดแสงเอกรงค์ คือ สี/ความยาวคลื่นเดียว

ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light การแทรกสอด (Interference / superposition) การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ การสะท้อนกลับเฟส แสงโพลาไรส์ 01420118 ฟิสิกส์เบื้องต้น II 2/2556 ภุชงค์ กิจอำนาจสุข http://pirun.ku.ac.th/~fscipuki/118

การทดลองช่องเปิดคู่ของยัง (Young’s Double-Slit Experiment)

การทดลองช่องเปิดคู่ของยัง (Young’s Double-Slit Experiment)

เงื่อนไขการเกิดแถบมืดและแถบสว่างโดย แหล่งกำเนิดแสง อาพันธ์และเอกรงค์ ความต่างเฟส แปรผันตาม ความต่างของเส้นทางเดินของแสง Phase different ∝ Path different Δ𝑋 ∝Δ𝜙 𝚫𝐗= 𝝀𝚫𝝓 𝟐𝝅 การแทรกสอดแบบเสริมกัน: Δ𝑋=𝑚𝜆; 𝑚=0,1,2,… การแทรกสอดแบบหักล้างกัน: Δ𝑋=𝑛𝜆; 𝑛= 1 2 , 3 2 , 5 2 ,…

การทดลองช่องเปิดคู่ของยัง (Young’s Double-Slit Experiment) screen P r1 r2 y d r2-r1 q L แถบสว่าง Bright fringes แถบมืด Dark fringes

การทดลองช่องเปิดคู่ของยัง (Young’s Double-Slit Experiment) screen P ym L q r1 r2

การทดลองช่องเปิดคู่ของยัง (Young’s Double-Slit Experiment) Summary the positions of the bright fringes: the positions of the dark fringes:

01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ ตัวอย่าง ฉากอยู่ที่ระยะ 3.0m จากช่องเปิดคู่ซึ่งมีระยะระหว่างช่องเปิด 15nm แสงเอกรงค์ความยาวคลื่น 4000nm ระยะห่างจากแถบสว่างอันดับที่ m=1 กับแถบสว่างกลางมีค่าเท่าใด 1. คำนวณหามุมของแถบสว่างอันดับที่ 1 จากสมการ 𝑚𝜆=𝑑 sin 𝜃 => 1 4.0× 10 −6 m = 1.5× 10 −5 m sin 𝜃 sin 𝜃 = 1 4.0× 10 −6 m 1.5× 10 −5 m 2. คำนวณระยะแถบสว่างบนฉากสมการ 𝑦/𝐿= tan 𝜃 โดยการประมาณ sin 𝜃 ≈ tan 𝜃 𝑦 = 3.0m 4.0× 10 −6 m 1.5× 10 −5 m 1 =80.0 m 15mm 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ คำถาม ฉากอยู่ที่ระยะ 3.0m จากช่องเปิดคู่ซึ่งมีระยะระหว่างช่องเปิด 15nm แสงเอกรงค์ความยาวคลื่น 4000nm ระยะห่างจากแถบสว่างอันดับที่ m=2 กับแถบสว่างอันดับที่ m=1 มีค่าเท่าใด 15mm บนฉาก 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light การแทรกสอด (Interference / superposition) การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ การสะท้อนกลับเฟส แสงโพลาไรส์ 01420118 ฟิสิกส์เบื้องต้น II 2/2556 ภุชงค์ กิจอำนาจสุข http://pirun.ku.ac.th/~fscipuki/118

การสะท้อนแบบกลับเฟส และการแทรกสอดผ่านฟิลม์บาง

Interference in Thin Films

Interference in Thin Films

Interference in Thin Films Dark and bright fringes depend on the thickness of film and wavelength of light. bright fringes dark fringes

ตัวอย่าง Ex คำนวณความหนาต่ำสุดของฟิลม์ฟองสบู่ซึ่งทำให้เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันของแสงสะท้อน เมื่อฟิลม์ถูกฉายด้วยแสงความยาวคลื่น𝜆=600𝑛𝑚 ดรรชนีหักเหของฟิลม์ 𝑛 𝑓𝑖𝑙𝑚 =1.33

Ex โซลาร์เซลซิลิกอน 𝑛 Si =3 Ex โซลาร์เซลซิลิกอน 𝑛 Si =3.5 เคลือบด้วยฟิลม์บางซิลิกอนออกไซด์ โดยที่ 𝑛 SiO = 1.45 เพื่อลดการสูญเสียเนื่องจากการสะท้อนจากผิว จงหาความหนาน้อยสุดที่จะทำให้เกิดการสะท้อนน้อยที่สุดสำหรับแสงความยาวคลื่น 550 nm. จบที่นี้

ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light การแทรกสอด (Interference / superposition) การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ การสะท้อนกลับเฟส แสงโพลาไรส์ 01420118 ฟิสิกส์เบื้องต้น II 2/2556 ภุชงค์ กิจอำนาจสุข http://pirun.ku.ac.th/~fscipuki/118

การโพลาไรซ์ของคลื่นแสง คลื่นมีโพลาไรซ์เชิงเส้นสัมพันธ์ เมื่อการสั่นของสนามไฟฟ้าอยู่ในทิศทางเดียวกัน Unpolarized light Polarized light

Processes for producing polarized light 1. Polaroid 2. Polarization by Reflection 3. Polarization by Double Refraction 4. Polarization by Scattering

Polarization by Polaroid Only a fraction of the light incident on the polaroid is transmitted through it. the intensity of the transmitted beam (polarized)

Example Ex แสงไม่โพลาไรซ์กระทบกับ ตัวทำแสงโพลาไรซ์ 3 แผ่น แผ่นแรกมีแนวโพลาไรซ์วางในแนวดิ่ง แผ่นที่ 2 มีแนวโพลาไรซ์ทำมุม 30๐ กับแผ่นแรก และแผ่นที่ 3 หมุนไป 75 ๐ เทียบกับแผ่นแรก หากแสงเข้ามามีความเข้ม Ib แสงที่ผ่านตัวทำแสงโพลาไรซ์แต่ละแผ่นมีค่าเท่าใด

Polarization by Reflection The reflected beam is completely polarized when the reflected and refracted rays are perpendicular to each other.

Polarization by Reflection The index of refraction of the substance can be calculated from polarizing angle by using Brewster’s law. partially polarized

ตัวอย่าง Ex แสงไม่โพลาไรซ์จากอากาศพุ่งเข้าหาตัวกลางที่มุม 56.3° เทียบกับแนวเส้นปรกติ รังสีที่สะท้อนออกมาเป็นแสงโพลาไรซ์สมบูรณ์ จงหาดรรชนีหักเหแสงของตัวกลางโปร่งแสงและมุมหักเหในตัวกลางดังกล่าว Brewster’s law n2 n1 = 1 From Snell’s law

การสะท้อนกลับเฟสและการแทรกสอดผ่านฟิลม์บาง กรณีฟิลม์บางความหนาtแสงที่สะท้อนจากผิวบนและล่างจะมีความแตกต่างของทางเดินแสงเท่ากับ2𝑡ซึ่งทำให้เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันที่ผิวด้านบนของฟิลม์สามารถคำนวณได้ดังสมการ a)2𝑡= 𝑛+ 1 2 𝜆 𝑓𝑖𝑙𝑚 หรือb) 2𝑡=𝑛 𝜆 𝑓𝑖𝑙𝑚 ความยาวในฟิลม์แปรตามดรรชนีหักเหแสงมีค่าดังสมการ 𝜆 𝑓𝑖𝑙𝑚 = 𝜆 𝑣𝑎𝑐 𝑛 (**) แสงเมื่อสะท้อนจากผิวที่มีดรรชนีหักเหมากกว่าจะเกิดการกลับเฟส 180 องศาซึ่งเฟสของแสง 180 องศาสัมพันธ์กับครึ่งความยาวคลื่น𝜆/2 ตัวอย่างฟองสบู่ในอากาศจะเกิดการสะท้อนกลับเฟส 180 องศาที่ผิวบนเท่านั้นใช้สมการ a) เพื่อหาเงื่อนไขการแทรกสอดเสริมกันที่ผิวบน ตัวอย่างกรณึฟิลม์บนแก้วจะเกิดการกลับเฟสทั้งสองผิวสะท้อน film lfilm t m m 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

ตัวอย่างการสะท้อนจากฟิลม์บาง ฟิลม์ฟองสบู่ล้อมรอบด้วยอากาศ เงื่อนไขการแทรกสอดแบบหักล้างกัน 𝟐𝒕=𝒎 𝝀 𝒔𝒐𝒂𝒑 เงื่อนไขการแทรกสอดแบบเสริมกัน 𝟐𝒕= 𝒎+ 𝟏 𝟐 𝝀 𝒔𝒐𝒂𝒑 คำอธิบาย การกลับเฟส ½lที่ผิวบนจากอากาศ-สบู่ ไม่มีการกลับเฟสที่ผิวสบู่-อากาศ 𝝀 𝒔𝒐𝒂𝒑 = 𝝀 𝒏 𝒔𝒐𝒂𝒑 n d 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ