(การศึกษาความเป็นไปได้)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การออกแบบและเทคโนโลยี
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารโครงการ Project Management
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ COMP342
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(การศึกษาความเป็นไปได้) 5 Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้)

โครงการ (Project) คือกิจกรรม ที่ข้องเกี่ยวกัน(Connection) มีขั้นตอนยุ่งยาก (Complex) แต่มีเป้าหมายหรือจุดประสงค์เดียวกัน คือ ต้องการให้โครงการเสร็จสมบูรณ์ทั้งในส่วนของเวลา งบประมาณ ทรัพยากร ดังนั้นความสมบูรณ์ของโครงการ(Project Management)

ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) กำหนดว่าปัญหาคืออะไร และตัดสินใจว่าจะพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศใหม่ หรือแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่ โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยสุด Aj.Wichan Hongbin

ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค (Technical Feasibility) 2. ความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) 3. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) Aj.Wichan Hongbin ประเมินจาก 4 ด้าน ต้นทุนการพัฒนาระบบ เช่น Hardware, Software, ทีมงาน, ลิขสิทธิ์ ต้นทุนการปฏิบัติงาน เช่น เงินเดือนผู้ปฏิบัติงาน ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ เช่น ยอดขายที่เพิ่มขึ้น, ลดต้นทุน ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้ เช่น ความพึงพอใจของลูกค้า, การบริการที่ดี สามารถนำเสนอสารสนเทศได้ถูกต้อง ระบบตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ระยะเวลาในการพัฒนาใหม่ยาวนานเท่าไร มีผลกระทบต่อขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือไม่ ต้องปลดพนักงานหรือไม่ จะมีผลกระทบอะไรกับพนักงานที่ถูกปลด มีความเสี่ยงต่อภาพพจน์ของบริษัทด้านใดบ้าง จำเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์ใหม่หรือไม่ อุปกรณ์ที่จัดหามาสามารถรองรับเทคโนโลยีในอนาคตได้หรือไม่ ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์เข้ากันได้หรือไม่ ทีมงานมีความเชี่ยวชาญในการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่มาใช้งานได้หรือไม่

ต้นทุนการพัฒนาระบบ (Development Costs) ค่าแรงงาน เช่น ค่าวิเคราะห์และออกแบบ, ค่าเขียนโปรแกรม, ค่าออกแบบเว็บ ค่าที่ปรึกษาภายนอก ค่าฝึกอบรมทีมพัฒนา ค่าฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ค่าติดตั้งระบบ ค่าแปลงข้อมูล ค่าพื้นที่สำนักงานและอุปกรณ์สำนักงาน Aj.Wichan Hongbin

ต้นทุนการปฏิบัติงาน (Operational Costs) ค่าอัปเกรดซอฟต์แวร์ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ค่าอัปเกรดฮาร์แวร์ ค่าแรงงานทีมปฏิบัติการ เช่น ค่าเว็บมาสเตอร์, ค่าช่างเทคนิคเครือข่าย ค่าระบบการสื่อสาร ค่าฝึกอบรมของผู้ใช้งาน Aj.Wichan Hongbin

ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ตัวอย่าง cost-benefit ในการพัฒนาระบบภายใน 4 ปี ค่าใช้จ่าย ปีเริ่มต้น ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ในการพัฒนาระบบ 150,000 - เมื่อปฏิบัติงาน 40,000 42,000 50,000 65,000 รวมค่าใช้จ่าย 190,000 232,000 282,000 347,000 ผลประโยชน์ 60,000 80,000 120,000 ผลประโยชน์ตั้งแต่ต้น 140,000 260,000 410,000

การบริหารโครงการ หมายถึง การรู้จัดการวางแผน และควบคุมโครงการให้โครงการนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Aj.Wichan Hongbin

สาเหตุสำคัญที่ส่งผล ต่อความล้มเหลวในโครงการซอฟต์แวร์ ขาดการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีพอ ความต้องการที่รวบรวมมา ไม่ชัดเจนหรือไม่สมบูรณ์ ขาดการประสานงานที่ดีระหว่าง ผู้ใช้กับ SA ขาดการควบคุมที่ดี ผู้ใช้ไม่ยอมรับในระบบ ระบบทำงานผิดพลาดบ่อยครั้ง ความไม่ชำนาญงานของนักวิเคราะห์ระบบ นโยบายของผู้บริหารไม่ชัดเจน Aj.Wichan Hongbin

ผังแกนท์ (Gantt Chart) หมายถึง แผนภาพที่เขียนแทนงานต่าง ๆ ของโครงการในรูปกราฟแท่ง โดยใช้แกน Y แทนงานต่าง ๆ และแกน X แทนเวลาในการทำงาน ข้อเสียของ Gantt Chart คือ ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆ และไม่สามารถบอกได้ว่าถ้ากิจกรรมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าเกิดความล่าช้าแล้วจะมีผลกระทบกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นทีหลังอย่างไร แกน Y แกน X Aj.Wichan Hongbin

เครื่องมือสนับสนุนการออกแบบและพัฒนาระบบ Aj.Wichan Hongbin

ตารางปฏิบัติงาน Aj.Wichan Hongbin

ตารางปฏิบัติงาน Aj.Wichan Hongbin

ขั้นตอนการสร้าง Gantt Chart สร้างกราฟกำหนดแกน Y แทนงาน และแกน X แทนระยะเวลา แกน Y เขียนชื่องานเรียงลำดับจากบนลงมาล่าง แกน X เขียนระยะเวลาแบ่งเป็นช่วง ๆ ละเท่า ๆ กัน สร้างกราฟแท่งของแต่ละกิจกรรมตามช่วงระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ - เลือกกิจกรรมที่เริ่มต้นได้ทันทีมาสร้างก่อน - เลือกกิจกรรมที่สามารถต่อท้ายกิจกรรมอื่นได้เป็นลำดับต่อไป - กรณีต้องต่อท้ายกิจกรรมอื่น ตั้งแต่ 2 กิจกรรมเป็นต้นไป ให้สร้างต่อท้ายกิจกรรมที่เสร็จช้าที่สุด Aj.Wichan Hongbin

สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 15 วัน ตัวอย่าง A B C D E 7 3 2 15 8 2 4 6 8 10 12 14 16 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 15 วัน Aj.Wichan Hongbin

สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 16 วัน ตัวอย่าง A B C D E F G 5 2 8 6 13 15 16 2 4 6 8 10 12 14 16 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 16 วัน Aj.Wichan Hongbin

แบบฝึกหัด ข้อที่ 1) ข้อที่ 2) Aj.Wichan Hongbin

แผนภูมิ Gantt Chart แผนภูมิ Gantt Chart เป็นแผนภูมิชนิดหนึ่ง ที่มีการใช้งานมาช้านาน เป็นเครื่องมือที่ใช้ใน การวางแผนและกำหนดเวลาในการทำงานของ โครงการ ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน

เพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม(CPM) การบริหารโครงการด้วยการวางแผน ควบคุม โดยใช้เทคนิค เพิร์ตPERT (Program Evaluation and Review Technique ) และซีพีเอ็ม CPM ( Critical Path Method) เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่ มักนำมาใช้ในการบริหารโครงการ ที่มีจุดเริ่มต้นของ โครงการจนถึงปิดโครงการ มีส่วนงานย่อยต่างๆ ที่มี การกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน

หลักการของ PERT และ CPM

เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ สรุป PERT เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ CPM เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ

วัตถุประสงค์ของ PERT PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวม ของโครงการด้วยข่ายงาน (Network) โดยแสดง กิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ ลำดับการทำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้

1. วางแผนโครงการ ( Project Planning ) โดยจะทำการคำนวณระยะเวลาการทำงาน และแสดงถึงกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ว่าควรเริ่มเมื่อใด เสร็จเมื่อใด และสามารถกำหนดได้ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมสำคัญ ทำงานล่าช้าไม่ได้ หรือล่าช้าได้ไม่เกินเท่าใด

2. ควบคุมโครงการ ( Project Control ) สามารถควบคุมการทำงานตามแผนที่ได้วางไว้ และควบคุมการทำงานไม่ให้ล่าช้ากว่ากำหนด

3. บริหารทรัพยากร ( Resource ) สามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่นเงินทุน บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ และอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประโยชน์เต็มที่

4.บริหารโครงการ ( Project Management ) งานที่ดำเนินการอยู่อาจจำเป็นต้องเร่ง เพื่อแล้วเสร็จกว่ากำหนด ก็สามารถทำได้ด้วยการเร่งกิจกรรมใดบ้าง เพื่อให้งานแล้วเสร็จในระยะเวลาที่เร็วขึ้น

แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram) คือ แผนภาพที่เขียนแทนงาน โดยแต่ละงานต้องเขียนกำกับด้วยโหนด (Node) เริ่มต้นงาน และใช้เส้นลูกศรกำหนดทิศทางการดำเนินงานของโครงการ 10 Node (โหนด) Aj.Wichan Hongbin

หลักเกณฑ์การสร้าง Pert Diagram 1. สร้าง Node กำหนดจุดเริ่มต้น และกำหนดหมายเลขกำกับ Node 10 2. ลากเส้นลูกศร และกำหนดจุดสิ้นสุด โดยเริ่มจากกิจกรรมที่เริ่มต้นได้ทันที่ ที่ไม่ต้องรอกิจกรรมอื่น เหนือเส้นลูกศรระบุชื่องาน และระยะเวลา คั่นด้วยเครื่องหมาย , A,4 10 20 Aj.Wichan Hongbin

3. กรณีมีกิจกรรมที่สามารถเริ่มต้นได้มากกว่า 1 กิจกรรม ให้ใช้จุดเริ่มต้นจุดเดียวกัน 30 D,2 10 20 A,4 4. เลือกกิจกรรมที่สามารถสร้างต่อท้ายกิจกรรมที่สร้างไว้ก่อนหน้า C,2 30 40 D,2 10 20 A,4 Aj.Wichan Hongbin

5. กรณีมีกิจกรรมที่ต้องต่อท้ายตั้งแต่ 2 กิจกรรมเป็นต้นไป เช่น งาน B เริ่มหลังจากงาน C,A ให้รวมโหนดของกิจกรรม C,A แล้วลากเส้นสร้างกิจกรรม B C,2 B,2 30 40 50 D,2 10 20 A,4 งาน F เริ่มหลังจากงาน B,E ให้รวมโหนดของกิจกรรม B,E แล้วลากเส้นสร้างกิจกรรม F C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 Aj.Wichan Hongbin

6. กรณีมีจุดสิ้นสุดมากกว่า 1 จุด ให้เลือกจุดใดจุดหนึ่งเป็นจุดสิ้นสุด ส่วนจุดที่เหลือให้นำมารวมกัน 80 K,3 C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 K,3 C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 Aj.Wichan Hongbin

7. รวมโหนดที่เชื่อมด้วยเส้นปะเป็นโหนดเดียวกัน แล้วเรียงลำดับเลขของโหนดใหม่เพื่อความสวยงาม K,3 C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 E,1 A,4 60 K,3 C,2 B,2 F,1 20 30 40 50 D,2 10 A,4 E,1 Aj.Wichan Hongbin

B,3 60 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 Aj.Wichan Hongbin

B,3 60 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 Aj.Wichan Hongbin

เส้นทางที่ 1 C - A - D = 2 + 5 + 8 = 15 วัน B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 10 B,3 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 เส้นทางที่ 1 C - A - D = 2 + 5 + 8 = 15 วัน เส้นทางที่ 2 B - E = 3 + 5 = 8 วัน เส้นทางที่ 3 B - D = 3 + 8 = 11 วัน เส้นทางที่ 4 C-A-E = 2 + 5 + 5 = 12 วัน *เส้นวิกฤต คือ C-A - D Aj.Wichan Hongbin เส้นทางวิกฤต (Critical) หมายถึง เส้นทางที่ใช้เวลาในการดำเนินกิจกรรมรวมของโครงการนานที่สุด และกิจกรรมที่อยู่บนเส้นทางวิกฤตจะเรียกว่า “กิจกรรมวิกฤต (Critical Activity)” เส้นทางและกิจกรรมวิกฤตจะทำให้ผู้บริหารสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ได้

ข้อที่ 1) A,2 B,3 10 20 30 C,5 D,4 E,7 F,2 40 50 60 70 G,1 70 Aj.Wichan Hongbin

ข้อที่ 1) A,2 B,3 10 20 30 F,2 C,5 D,4 E,7 40 50 60 70 G,1 70 A,2 10 20 B,3 F,2 C,5 D,4 E,7 40 50 60 70 G,1 Aj.Wichan Hongbin

10 20 40 50 60 70 เส้นทางที่ 1 A – B – E - F = 2+3+7+2 = 14 วัน C,5 D,4 E,7 F,2 40 50 60 70 G,1 เส้นทางที่ 1 A – B – E - F = 2+3+7+2 = 14 วัน เส้นทางที่ 2 A– C– D – E - F = 2+5+4+7+2 = 20 วัน เส้นทางที่ 3 A– C– G - F = 2+5+1+2 = 10 วัน เส้นวิกฤติ คือ A– C– D – E – F Aj.Wichan Hongbin

ข้อที่ 2) B,7 A,3 10 20 30 C,8 F,2 D,4 40 50 70 E,5 60 Aj.Wichan Hongbin

B,7 A,3 10 20 30 C,8 F,2 D,4 40 50 70 E,5 60 A,3 B,7 10 20 C,8 F,2 D,4 40 50 70 E,5 Aj.Wichan Hongbin

ข้อที่ 3) ข้อที่ 4) Aj.Wichan Hongbin

P 9 - Q 12 R 3 S 7 R,Z T 11 X 8 Y 14 Z 5 T,Y งาน ระยะเวลา (วัน) เริ่มหลังจากงาน P 9 - Q 12 R 3 S 7 R,Z T 11 X 8 Y 14 Z 5 T,Y แบบฝึกหัด ๑.จงสร้าง Gantt Chart ๒. จงสร้าง Pert Diagram และ หา Critical Path Aj.Wichan Hongbin

A 2 - B 3 C 5 D 1 G,I E F G 4 C,F H I 7 J 6 งาน ระยะเวลา เริ่มหลังจากงาน A 2 - B 3 C 5 D 1 G,I E F G 4 C,F H I 7 J 6 แบบทดสอบ ๑.จงสร้าง Gantt Chart ๒. จงสร้าง Pert Diagram และ หา Critical Path Aj.Wichan Hongbin