หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมนอกและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกระบอก.
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
พื้นที่ผิวของพีระมิด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
BC320 Introduction to Computer Programming
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
World Time อาจารย์สอง Satit UP
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
บทที่ 2 การวัด.
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
รูปหลายเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันมีลักษณะอย่างไรข้อใด มีความยาวของเส้นรอบรูป และมีพื้นที่เท่ากัน มีรูปร่างเหมือนกัน.
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

บทนิยาม เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบ เดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้น ตรงทั้งสองเส้นนั้นไม่ตัดกัน

ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้ว ระยะห่างระหว่าง เส้นตรงคู่นั้นจะ เท่ากันเสมอ และในทางกลับกัน ถ้า เส้นตรงสองเส้นมีระยะห่างระหว่าง เส้นตรงเท่ากันเสมอ แล้ว เส้นตรงคู่ นั้นจะขนานกัน

ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่ง ตัดเส้นตรงคู่ หนึ่ง ทำให้ขนาดของมุมภายในที่ อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด รวม กันเป็น 180 องศาแล้ว เส้นตรงคู่ นั้นจะขนานกัน

เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่ง ตัดเส้นตรง คู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อ เมื่อ ขนาดของมุมภายในที่อยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่า กับ 180 องศา

ตัวอย่าง กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า x 1) A B C D E F 136 x

จะได้ x +136 = 180 (ขนาดของมุมภาย ในที่อยู่บนข้างเดียวกัน วิธีทำ เนื่องจาก AB // CD จะได้ x +136 = 180 (ขนาดของมุมภาย ในที่อยู่บนข้างเดียวกัน ของเส้นตัดเส้นขนาน รวมกันเท่ากับ180องศา) x = 180 - 136 ดังนั้น x = 44 A C F x 136 B E D

จะได้ x +10+72 = 180 (ขนาดของมุม ภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัด 2) วิธีทำ เนื่องจาก AB // CD จะได้ x +10+72 = 180 (ขนาดของมุม ภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัด เส้นขนานรวมกัน เท่ากับ180องศา) A F B D E C 72 (x+10)

A F B D E C 72 (x+10) x + 82 = 180 x = 180 - 82 ดังนั้น x = 98

ตัวอย่าง จากรูปกำหนดให้ PQ // RS 1 ˆ 3 = จงพิสูจน์ว่า Q S 1 2 3 4 P R

= + = 180ํ ˆ 1 3 ˆ 2 3 PQ // RS มี เป็นเส้นตัด PR กำหนดให้ มี เป็นเส้นตัด PR กำหนดให้ 1 ˆ 3 = ต้องการพิสูจน์ว่า พิสูจน์ PQ // RS มี เป็นเส้นตัด PR P R S Q 1 2 3 4 (กำหนดให้) 2 ˆ 3 + = 180ํ (ขนาดมุมภายในบนข้างเดียวกันของ เส้นตัดเส้นขนานรวมกันเท่ากับ180 )

+ = 180ํ + = = 2 ˆ 1 2 ˆ 1 3 1 ˆ 3 2 ˆ (ขนาดของมุมตรง) จะได้ = 180ํ P R S Q 1 2 3 4 (ขนาดของมุมตรง) จะได้ 2 ˆ 1 + = 3 (สมบัติของการเท่ากัน) ดังนั้น 1 ˆ = 3 (นำ มาลบทั้งสองข้างของสมการ) 2 ˆ

ลองทำดู

C D A ˆ D C B ˆ 4) จากรูปกำหนดให้ ABCDเป็นรูป ดังรูป จงหาขนาด ของ D C C D A ˆ และขนาด D C B ˆ 53 71 ของ A B

C D A ˆ D C B ˆ กำหนดให้ ABCD เป็นรูป  คางหมู AB // CD ขนาดของ 53 71 กำหนดให้ ABCD เป็นรูป  คางหมู AB // CD C D A ˆ ขนาดของ ต้องการพิสูจน์ และขนาดของ D C B ˆ

D A B ˆ C พิสูจน์ AB//CD (เป็นด้านคู่ขนาน ของ คางหมู) + = 180 53 71 พิสูจน์ AB//CD (เป็นด้านคู่ขนาน ของ คางหมู) D A B ˆ C + = 180 (ขนาดมุมภายในบนข้างเดียวกันของ เส้นตัดเส้นขนานรวมกันเท่ากับ180 )

C D A ˆ C D A ˆ C D A ˆ C B A ˆ D 53 + = 180 = 180 - 53 = 127 + = 180 + C D A ˆ = 180 A B C D 53 71 C D A ˆ = 180 - 53 127 C D A ˆ = 127 C B A ˆ D + = 180 (ขนาดมุมภายในบนข้างเดียวกันของ เส้นตัดเส้นขนานรวมกันเท่ากับ180 )

ดังนั้น D C B ˆ D C B ˆ D C B ˆ 71 + = 180 = 180 - 71 = 109 A B C D 53 71 109 71 + D C B ˆ = 180 D C B ˆ = 180 - 71 D C B ˆ = 109 ดังนั้น

N M B ˆ L K M ˆ PL // MN 5) จากรูปกำหนดให้ = จงพิสูจน์ว่า A B P K L M

N M B ˆ L K กำหนดให้ PL // MN = ต้องการพิสูจน์ว่า พิสูจน์ PL // MN A B กำหนดให้ PL // MN N M B ˆ = L K ต้องการพิสูจน์ว่า พิสูจน์ PL // MN (กำหนดให้)

L K M ˆ N N M K ˆ B + = 180 (ขนาดมุมภายในบน ข้างเดียวกันของเส้นตัด (ขนาดมุมภายในบน ข้างเดียวกันของเส้นตัด เส้นขนานรวมกันเท่า กับ180 ) M N L K P A B N M K ˆ B + = 180 (ขนาดของมุมตรง)

L K M ˆ N B N M B ˆ L K N M K ˆ จะได้ + = (สมบัติของการเท่ากัน) = P A B จะได้ L K M ˆ N + = B (สมบัติของการเท่ากัน) N M B ˆ = L K (นำ มาลบทั้งสองข้าง) N M K ˆ

7) ในรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากใด ๆ ด้าน ที่อยู่ตรงข้ามกัน ขนานกันหรือ ไม่ เพราะเหตุใด C D A B

กำหนดให้ ABCDเป็นรูป  มุมฉาก ต้องการพิสูจน์ว่า AB // CD AD // BC

B A D ˆ C B A D ˆ C พิสูจน์ ABCDเป็นรูป มุมฉาก + = 180 + = 180 B A D ˆ C + = 180 (เป็นมุมของรูปมุมฉากมีขนาด 90)

(ขนาดมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกัน ของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา) C D A B ดังนั้น AD // BC AB // CD และ (ขนาดมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกัน ของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)

การบ้าน หน้าที่ 131-132 แบบฝึกหัดที่ 4.1 ข้อที่ 2 (1-4) ข้อ 3 ข้อ 6