เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Circuits Design
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การตรวจซ่อม ระบบไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Engineering mechanic (static)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
สื่อการเรียนการสอน วิชา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
รหัส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 (10)
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
Electrical Instruments and Measurements
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) แผ่นที่ 15-1 หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เพาเวอร์ แฟกเตอร์   เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-2 j v i การวัดระยะห่างระหว่างจุดเริ่มต้นของกระแสไฟฟ้ากับแรงดันไฟฟ้า (มุม j) ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าอะไร? และวัดได้อย่างไร? เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เพาเวอร์แฟกเตอร์ คืออะไร? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-3 เครื่องวัด เพาเวอร์แฟกเตอร์ คืออะไร? j v i เครื่องวัดไฟฟ้าที่ทำหน้าที่วัดค่าโคไซน์ (cosine j) และหรือค่าของมุม (มุม j) ระหว่างรูปคลื่นไซน์ของกระแสไฟฟ้ากับแรงดันไฟฟ้าของภาระไฟฟ้าชนิดต่างๆ เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

ชนิดของภาระไฟฟ้าของ ไฟฟ้ากระแสสลับ มีอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-4 ชนิดของภาระไฟฟ้าของ ไฟฟ้ากระแสสลับ มีอะไรบ้าง? 1. ชนิดตัวต้านทานไฟฟ้า (R) ภาระไฟฟ้าที่เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะให้พลังงาน ความร้อน แสงสว่างหรือทั้งสอง เช่น ขดลวดความร้อนของ เตารีดไฟฟ้า ของกระทะไฟฟ้า หลอดไส้ ฯลฯ มีคุณสมบัติทำให้กระแสไฟฟ้าเกิดพร้อมกับแรงดันไฟฟ้า เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

วงจรไฟฟ้า รูปคลื่นไซน์ เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-5 ir R ein ~ vr วงจรไฟฟ้า j=0O vr ir รูปคลื่นไซน์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานไฟฟ้า (ir) จะเกิดพร้อมกับแรงดันไฟฟ้า (vr) เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

2. ชนิดขดลวดเหนี่ยวนำ (L) เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-6 2. ชนิดขดลวดเหนี่ยวนำ (L) ภาระไฟฟ้าที่เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเก็บสะสมพลังงานในรูปสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ขดลวดสนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า ฯลฯ มีคุณสมบัติทำให้กระแสไฟฟ้าล้าหลัง (เกิดหลัง) แรงดัน ไฟฟ้าเป็นมุม 90 องศา เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

วงจรไฟฟ้า รูปคลื่นไซน์ เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-7 iL L ein ~ vL วงจรไฟฟ้า j=-90O vL iL รูปคลื่นไซน์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดเหนี่ยวนำ (iL) จะเกิดล้าหลัง แรงดันไฟฟ้า (vL) เป็นมุม 90o เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

3. ชนิดตัวเก็บประจุไฟฟ้า (C) เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-8 3. ชนิดตัวเก็บประจุไฟฟ้า (C) ภาระไฟฟ้าที่เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเก็บสะสมพลังงานในรูปสนามไฟฟ้า เช่น คาปา ซิเตอร์ ฯลฯ มีคุณสมบัติทำให้กระแสไฟฟ้า นำหน้า (เกิดก่อน) แรงดัน ไฟฟ้าเป็นมุม 90 องศา เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

วงจรไฟฟ้า รูปคลื่นไซน์ เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-9 ic C ein ~ vc วงจรไฟฟ้า j= 90O vc ic รูปคลื่นไซน์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ (iL) จะเกิดก่อน (นำหน้า) แรงดันไฟฟ้า (vL) เป็นมุม 90o เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์มีโครงสร้างอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-10 เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์มีโครงสร้างอย่างไร? A C B D R L cos j ไปยังภาระไฟฟ้า ไปยังแหล่งจ่ายกระแสสลับ องศา 1. ขดลวดอยู่กับที่ 2. ขดลวดขวาง 2.1 ชุดที่ต่ออนุกรมกับ R 2.2 ชุดที่ต่ออนุกรมกับ L เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-11 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L cos j องศา 1. iF เกิดพร้อมกับ v 2. imr เกิดพร้อมกับ v 3. iml เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o ดังนั้น iF เกิดพร้อมกับ imr เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

1. ค่าของมุม j มีค่าเท่ากับ 0o 2. ค่า cos 0o = 1.0 หรือ p.f = 1 เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-12 A C B D R L 1.0 0o ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์(p.f.) ค่ามุม j แรงดูดระหว่างขั้วแม่เหล็กที่ต่างกันของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า iF และ imr ที่เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้ไปที่ตำแหน่งกึ่งกลางของสเกล ดังนั้นแสดงว่าที่ตำแหน่งกึ่งกลางสเกล 1. ค่าของมุม j มีค่าเท่ากับ 0o 2. ค่า cos 0o = 1.0 หรือ p.f = 1 เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-13 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L cos j องศา 1. iF เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o 2. imr เกิดพร้อมกับ v 3. iml เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o ดังนั้น iF เกิดพร้อมกับ iml เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-14 ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์(p.f.) -90 A C B D R L 0 IND 1.0 ค่ามุม j แรงดูดระหว่างขั้วแม่เหล็กที่ต่างกันของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า iF และ iml ที่เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้ไปที่ตำแหน่งขวามือของสเกล ดังนั้นแสดงว่าที่ตำแหน่งขวามือของสเกล 1.ค่าของมุม j เท่ากับ-90o ล้าหลัง 2.ค่า cos -90o = 0 หรือ p.f = 0 ล้าหลัง เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิดC เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-15 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิดC เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L cos j องศา 1. iF เกิดนำหน้า v เป็นมุม 90o 2. imr เกิดพร้อมกับ v 3. iml เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o ดังนั้น iF เกิดพร้อมกับ iml แต่มี ทิศทางตรงกันข้ามเท่านั้น เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-16 -90 A C B D R L 0 Ind 1.0 0 Kap +90 ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์(p.f.) ค่ามุม j แรงดูดระหว่างขั้วแม่เหล็กที่ต่างกันของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า iF และ iml ที่เกิดพร้อมกันแต่มีทิศทางตรงข้ามทำให้เข็มชี้ไปที่ตำแหน่งซ้ายมือของสเกล ดังนั้นแสดงว่าที่ตำแหน่งซ้ายมือของสเกล 1.ค่าของมุม j เท่ากับ+90o นำหน้า 2.ค่าcos90o=0 หรือ p.f = 0นำหน้า เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-17 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L -90 0 Ind 1.0 เข็มชี้จะชี้อยู่ระหว่าง 0o ถึง -90oล้าหลัง หรือ p.f. อยู่ระหว่าง 1 ถึง 0 ล้าหลัง หรือ อยู่ทางด้านขวามือ เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-C เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-18 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-C เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D L R 1.0 0 Kap +90 เข็มชี้จะชี้อยู่ระหว่าง 0o ถึง -90o นำหน้า หรือ p.f. อยู่ระหว่าง 1 ถึง 0 นำหน้า หรือ อยู่ทางด้านซ้ายมือ เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ