การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
Advertisements

ข้อดี 1. มีราคาถูก 2. ใช้งานง่ายมีความยืดหยุ่นในการใช้ งาน 3. ติดตั้งง่ายและมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี 1. ราคาถูก 2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 3. ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ข้อดีและข้อเสียของสื่อกลางใน การสื่อสารข้อมูล โดย นาย กิตติพิชญ์ เครือสุวรรณ.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูล.
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Case Study.
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
Educational Information Technology
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
“ หนึ่งร้อยสิบห้าปีที่ควรเปลี่ยนแปลง ” จากคณะทำงานฝ่ายสื่อสารฯ สชป
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
สินค้าและบริการ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ตัวกลางการสื่อสาร ( communication media) แบบมีสาย Twisted pair Coaxial cable Optical fiber cable แบบไร้สาย Infrared Radio wave Terrestrial microwave Satellite communication

Twisted pair cable สายบิดเกลียว แต่ละเส้นมีลักษณะคล้ายสายไฟทั่วไป มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 Hz ถึง 5 MHz มี 2 ลักษณะ แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม unshielded twisted-pair หรือ UTP แบบ shielded twisted-pair หรือ STP

มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500 MHz Coaxial cable มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500 MHz มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับตัวนำโลหะ ตัวนำโลหะชั้นในทำหน้าที่ส่งสัญญาณ ตัวโลหะชั้นนอกทำหน้าที่เป็นส่วนดินและเป็น เกราะป้องกัน

สายใยแก้วนำแสง optical fiber cable สายสัญญาณทำจากใยแก้วหรือสารนำแสงห่อหุ้มด้วยวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูลเท่ากับความเร็วสูง มีราคาค่อนข้างสูง

แสงอินฟาเรด infrared ใช้แสงอินฟาเรด เป็นสื่อกลาง ใช้แสงอินฟาเรด เป็นสื่อกลาง ทำการส่งข้อมูลโดยผ่าน IrDa port ใช้กับการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ เช่น จาก remote control ไปยังโทรทัศน์ การส่งข้อมูลระหว่างโทรศัพท์มือถือในระยะใกล้

สัญญาณวิทยุ radio wave ส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ ถูกรบกวนได้จากสภาพอากาศไม่ดี ช่วยส่งข้อมูลในระยะไกล หรือสภาพภูมิประเทศไม่เอื้อในการใช้สายส่ง สัญญาณวิทยุสามารถแบ่งตามช่วงความถี่ได้ดังนี้

ไมโครเวฟภาคพื้นดิน จะมีเสาส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่าง ๆ กัน โดยใช้สถานีทวนสัญญาณ (repeater station) เพื่อการส่งสัญญาณต่อเป็น ช่วง ๆ ทำให้ส่งสัญญาณระยะไกลได้ แต่อาจถูกรบกวนจากสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะช่วงฝนตกหรือมีพายุ จะทำให้การส่งข้อมูลไม่ดีนัก

การสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียม เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทำหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ เพื่อส่งสัญญาณต่อไปยัง สถานีภาคพื้นดินอื่น ๆ ระยะทางจากโลกถึงดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์ จึงทำให้ข้อมูลที่ส่งเกิด ความล่าช้าประมาณ2 วินาที ซึ่งเหมาะกับการสื่อสารระหว่างประเทศหรือการส่งข้อมูลที่มีระยะทางไกลมาก ๆ

การพิจารณาเลือกสื่อนำข้อมูล ราคา ความเร็ว ระยะทาง สัญญาณรบกวนที่อาจจะเกิดขึ้น ความปลอดภัยของข้อมูล

ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของสื่อนำข้อมูล

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพของเครือข่ายขึ้นอยู่กับ จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย จำนวนต่อพ่วงมาก ประสิทธิภาพของการสื่อสารต่ำ สื่อนำข้อมูล สื่อต้องมีความเร็วที่เหมาะสม และจัดวางตำแหน่งให้เหมาะสมกับการใช้งานและสภาพแวดล้อม เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (hardware) เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์มีประสิทธิภาพต่ำ ก็ทำให้เครือข่ายมีประสิทธิภาพต่ำไปด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล (software) ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ส่งหรือรับ ถ้าโปรแกรมดีก็สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ Server ทำหน้าที่ในการให้บริการต่างๆ Workstations เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปที่สามารถทำการประมวลผลข้อมูลต่างๆ ได้ Client เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกใช้ข้อมูลจาก server Terminal เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย จอภาพ แป้นพิมพ์ และ อุปกรณ์อื่นๆ ไม่สามารถประมวลผลข้อมูลได้ ด้วยตนเอง แต่ให้ server ทำการประมวลผลข้อมูลส่งมาให้

ตัวอย่างของ server File server Database server Print server ให้บริการแฟ้มข้อมูลแก่เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ Database server ให้บริการฐานข้อมูลแก่เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ เพื่อเรียกดูข้อมูลหรือบันทึกข้อมูล Print server ให้บริการเครื่องพิมพ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ Internet server ให้บริการการติดต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ Web server เก็บข้อมูล web site เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ สามารถเรียกดูข้อมูลจาก web site ที่เก็บไว้ได้ Mail server ทำหน้าที่เก็บ e-mail ที่มีการส่งระหว่างกัน รวมถึงการส่ง e-mail Domain Name Server (DNS) ทำหน้าที่เก็บชื่อ domain และทำการแปลงให้เป็น IP Address

WAN เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มาก ภายในเครือข่ายประกอบด้วย LAN และ MAN สามารถคลอบ คลุมได้ทั่วโลก

การประยุกต์ใช้การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ E-mail การส่งข้อมูลในรูปจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ Voice mail เป็นการส่งข้อมูลในรูปแบบของเสียงผ่านอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย เสียงจะถูกส่งผ่านสื่อและนำไปเก็บไว้ในอุปกรณ์บันทึกเสียงจนกว่าจะเปิดฟัง Facsimile หรือ FAX เป็นการส่งข้อความที่เป็นหน้ากระดาษไปยังเครื่องโทรสาร ซึ่งสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในการส่งข้อมูลได้เช่นเดียวกับเครื่องโทรสาร Video conferencing เป็นการส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง โดยจะต้องมีอุปกรณ์บันทึกภาพและ อุปกรณ์บันทึกเสียง

การประยุกต์ใช้การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Global positioning system (GPS) ใช้ในการวิเคราะห์และระบุตำแหน่งของคน สัตว์ สิ่งของที่เป็นเป้าหมายของระบบโดยใช้ ดาวเทียม มีการนำไปใช้ในระบบการเดินเรือและเครื่องบิน Electronic data interchange (EDI) ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐาน ทำให้การไหลเวียนของเอกสารระหว่างผู้ผลิตและลูกค้า เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว และลดความซ้ำซ้อนและความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล