ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
Advertisements

หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
DC Voltmeter.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Basic Electronics.
Watt Meter.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
SMS News Distribute Service
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ หน่วยที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เครื่องวัดไฟฟ้า

ทำอย่างไรจึงเรียกว่า การวัด ? การวัดทางไฟฟ้า หมายถึง ?

(Electrical Measurement) การวัดทางไฟฟ้า (Electrical Measurement) การเปรียบเทียบปริมาณทางไฟฟ้า ที่ต้องการวัด กับปริมาณมาตรฐาน ที่กำหนดไว้

เครื่องวัดไฟฟ้า (Electric Instrument) เครื่องมือวัดใดๆ ทางไฟฟ้าที่ ใช้ในการวัดปริมาณต่างๆทางไฟฟ้า

ประเภทของเครื่องวัดไฟฟ้า ( Type of Electric Instrument) สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท 1. แบ่งตามหลักการทำงาน 2. แบ่งตามชนิดของไฟฟ้าที่ทำการวัด 3. แบ่งตามการแสดงผลการวัดของผลการวัด 4. แบ่งการนำไปใช้งาน 5. แบ่งตามหน้าที่ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 1. เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดอิเล็กทรอเมกคานิกส์ (Electro mechanics Instrument) เข็มชี้เคลื่อนที่ ปริมาณทางกล ปริมาณไฟฟ้าวัด

เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 2. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล (Digital Instrument) แสดงผลเป็นตัวเลข สัญญาณดิจิตอล ปริมาณไฟฟ้าที่วัด

เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 3. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่าศูนย์ (Null Type Instrument) ชี้ค่าศูนย์ ปริมาณอ้างอิง ปริมาณไฟฟ้าที่วัด

เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามชนิดของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? 1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Instrument) 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 VDC COM + 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + โวลต์มิเตอร์กระแสตรง แอมมิเตอร์กระแสตรง

เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามชนิดของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? 2. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Instrument) V ~ 300 200 150 50 A ~ 300 200 150 50 โวลต์มิเตอร์กระแสสลับ แอมมิเตอร์กระแสสลับ

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผล การวัดของเครื่องวัดไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 1. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (Indicating Instruments) 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 VDC COM + 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + โวลต์มิเตอร์กระแสตรง แอมมิเตอร์กระแสตรง

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผล การวัดของเครื่องวัดไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 2. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบบันทึกค่า (Recording Instruments)

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผล การวัดของเครื่องวัดไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 3. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบสะสมค่า (Integrating Instruments)

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง ? 1. แบบติดแผง (Penel Instruments) V ~ 300 200 150 50 A ~ 300 200 150 50

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง ? 2. แบบพกพา (Portable Instruments)

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง ? 3. แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Instruments)

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 1. แอมมิเตอร์ (Ampmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณกระแสไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 2. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณแรงดันไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 3. โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณความต้านทานไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 4. วัตต์มิเตอร์ (Wattmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณกำลังไฟฟ้าจริง

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 5. วาร์มิเตอร์ (Varmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณกำลังไฟฟ้าต้านกลับ

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 6. กิโลวัตต์ฮาร์วมิเตอร์ (Kilo-hour Wattmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 7. เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า (Friquency meter) ทำหน้าที่วัดปริมาณความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 8. เครื่องวัดความเป็นฉนวนไฟฟ้า (Insulation meter) ทำหน้าที่วัดปริมาณ ความเป็นฉนวนทางไฟฟ้า ของฉนวนไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 9. เครื่องวัดมัลติมิเตอร์ (Multimeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายอย่าง เช่น แรงดันไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, ความต้านทานไฟฟ้า

ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? เข็มชี้ของเครื่องวัดไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ได้ ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? 1. แรงบิดบ่ายเบน (Deflecting) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ออกไปจากตำแหน่งเดิมไปชี้ค่าบนสเกล

ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? เข็มชี้ของเครื่องวัดไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ได้ ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? 2. แรงบิดควบคุม (Controlling) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้ค่าบนสเกลได้ถูกต้อง 3. แรงบิดหน่วง (Damping) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้ค่าไม่แกว่ง

แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ แกนเหล็กเคลื่อนที่

แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ N S N S แกนเหล็กเคลื่อนที่

แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ N S N S แกนเหล็กเคลื่อนที่

แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ N S N S แกนเหล็กเคลื่อนที่

แรงบิดควบคุมเกิดขึ้นได้อย่างไร ? 1. สปริงก้นหอย 2. น้ำหนักถ่วง

แรงบิดหน่วงเกิดขึ้นได้อย่างไร ? 1. อากาศหรือของเหลว 2. กระแสไฟฟ้าไหลวน

รูปข้างล่างนี้ หมายความว่าอย่างไร ? ทำไม ? ต้องมีสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า รูปข้างล่างนี้ หมายความว่าอย่างไร ? 5

แบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ? สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า แบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ?

สัญลักษณ์ของเครื่องวัดไฟฟ้า (Electrical Instrument Symbol) 1.1 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง สัญลักษณ์ ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ แบบใช้แม่เหล็กถาวร เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่

1.1 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง (ต่อ) ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้าอิเล็กทรอไดนามิกชนิดมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าอิเล็กทรอ ไดนามิกชนิดไม่มีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวด ขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวด ขวางแบบมีแกนเหล็ก

1.1 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง (ต่อ) ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดเหนี่ยวนำ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดก้านสั่น เครื่องวัดไฟฟ้าชนิด มีวงจรเรียงกระแสไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวด เคลื่อนที่ที่มีวงจรเรียงกระแส

1.2 สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสประกอบด้วย 1 ตัววัด

1.2 สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า (ต่อ) ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสประกอบด้วย 2 ตัววัด เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสประกอบด้วย 3 ตัววัด

1.3 สัญลักษณ์การวางเครื่องวัดไฟฟ้า สัญลักษณ์ ความหมาย วางในแนวตั้งฉาก วางเป็นมุมเอียงตามที่ กำหนดไว้ (เช่น 60 องศา) 60o วางในแนวนอน

1.4 สัญลักษณ์เครื่องหมายการค้า ความหมาย SANWA ยี่ห้อ ซันวา YOGOGAWA ยี่ห้อ โยโกกาวา METRIX ยี่ห้อ เมทริกซ์

! 1.5 สัญลักษณ์อื่นๆ สัญลักษณ์ ความหมาย ตำแหน่งการปรับชี้ศูนย์ ข้อควรระวัง ผ่านการทดสอบฉนวนด้วย แรงดันไฟฟ้าขนาด 5kV 5

ถ้าโลกนี้ไม่มีเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดใดๆ เราจะทราบปริมาณไฟฟ้า ได้หรือไม่ คำถามพัฒนาความคิด ถ้าโลกนี้ไม่มีเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดใดๆ เราจะทราบปริมาณไฟฟ้า ได้หรือไม่ และอย่างไร ?