ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ หน่วยที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เครื่องวัดไฟฟ้า
ทำอย่างไรจึงเรียกว่า การวัด ? การวัดทางไฟฟ้า หมายถึง ?
(Electrical Measurement) การวัดทางไฟฟ้า (Electrical Measurement) การเปรียบเทียบปริมาณทางไฟฟ้า ที่ต้องการวัด กับปริมาณมาตรฐาน ที่กำหนดไว้
เครื่องวัดไฟฟ้า (Electric Instrument) เครื่องมือวัดใดๆ ทางไฟฟ้าที่ ใช้ในการวัดปริมาณต่างๆทางไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องวัดไฟฟ้า ( Type of Electric Instrument) สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท 1. แบ่งตามหลักการทำงาน 2. แบ่งตามชนิดของไฟฟ้าที่ทำการวัด 3. แบ่งตามการแสดงผลการวัดของผลการวัด 4. แบ่งการนำไปใช้งาน 5. แบ่งตามหน้าที่ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 1. เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดอิเล็กทรอเมกคานิกส์ (Electro mechanics Instrument) เข็มชี้เคลื่อนที่ ปริมาณทางกล ปริมาณไฟฟ้าวัด
เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 2. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล (Digital Instrument) แสดงผลเป็นตัวเลข สัญญาณดิจิตอล ปริมาณไฟฟ้าที่วัด
เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 3. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่าศูนย์ (Null Type Instrument) ชี้ค่าศูนย์ ปริมาณอ้างอิง ปริมาณไฟฟ้าที่วัด
เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามชนิดของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? 1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Instrument) 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 VDC COM + 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + โวลต์มิเตอร์กระแสตรง แอมมิเตอร์กระแสตรง
เครื่องวัดไฟฟ้า ที่แบ่งตามชนิดของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? 2. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Instrument) V ~ 300 200 150 50 A ~ 300 200 150 50 โวลต์มิเตอร์กระแสสลับ แอมมิเตอร์กระแสสลับ
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผล การวัดของเครื่องวัดไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 1. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (Indicating Instruments) 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 VDC COM + 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + โวลต์มิเตอร์กระแสตรง แอมมิเตอร์กระแสตรง
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผล การวัดของเครื่องวัดไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 2. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบบันทึกค่า (Recording Instruments)
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผล การวัดของเครื่องวัดไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 3. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบสะสมค่า (Integrating Instruments)
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง ? 1. แบบติดแผง (Penel Instruments) V ~ 300 200 150 50 A ~ 300 200 150 50
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง ? 2. แบบพกพา (Portable Instruments)
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง ? 3. แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Instruments)
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 1. แอมมิเตอร์ (Ampmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณกระแสไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 2. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณแรงดันไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 3. โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณความต้านทานไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 4. วัตต์มิเตอร์ (Wattmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณกำลังไฟฟ้าจริง
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 5. วาร์มิเตอร์ (Varmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณกำลังไฟฟ้าต้านกลับ
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 6. กิโลวัตต์ฮาร์วมิเตอร์ (Kilo-hour Wattmeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 7. เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า (Friquency meter) ทำหน้าที่วัดปริมาณความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 8. เครื่องวัดความเป็นฉนวนไฟฟ้า (Insulation meter) ทำหน้าที่วัดปริมาณ ความเป็นฉนวนทางไฟฟ้า ของฉนวนไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ ที่ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า มีอะไรบ้าง ? 9. เครื่องวัดมัลติมิเตอร์ (Multimeter) ทำหน้าที่วัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายอย่าง เช่น แรงดันไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, ความต้านทานไฟฟ้า
ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? เข็มชี้ของเครื่องวัดไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ได้ ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? 1. แรงบิดบ่ายเบน (Deflecting) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ออกไปจากตำแหน่งเดิมไปชี้ค่าบนสเกล
ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? เข็มชี้ของเครื่องวัดไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ได้ ต้องเกิดแรงบิดอะไรบ้าง ? 2. แรงบิดควบคุม (Controlling) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้ค่าบนสเกลได้ถูกต้อง 3. แรงบิดหน่วง (Damping) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้ค่าไม่แกว่ง
แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ แกนเหล็กเคลื่อนที่
แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ N S N S แกนเหล็กเคลื่อนที่
แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ N S N S แกนเหล็กเคลื่อนที่
แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร ? สเกล 0A XA เข็มชี้ ลูกสูบและห้องอากาศ สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ N S N S แกนเหล็กเคลื่อนที่
แรงบิดควบคุมเกิดขึ้นได้อย่างไร ? 1. สปริงก้นหอย 2. น้ำหนักถ่วง
แรงบิดหน่วงเกิดขึ้นได้อย่างไร ? 1. อากาศหรือของเหลว 2. กระแสไฟฟ้าไหลวน
รูปข้างล่างนี้ หมายความว่าอย่างไร ? ทำไม ? ต้องมีสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า รูปข้างล่างนี้ หมายความว่าอย่างไร ? 5
แบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ? สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า แบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ?
สัญลักษณ์ของเครื่องวัดไฟฟ้า (Electrical Instrument Symbol) 1.1 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง สัญลักษณ์ ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ แบบใช้แม่เหล็กถาวร เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
1.1 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง (ต่อ) ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้าอิเล็กทรอไดนามิกชนิดมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าอิเล็กทรอ ไดนามิกชนิดไม่มีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวด ขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวด ขวางแบบมีแกนเหล็ก
1.1 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง (ต่อ) ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดเหนี่ยวนำ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดก้านสั่น เครื่องวัดไฟฟ้าชนิด มีวงจรเรียงกระแสไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวด เคลื่อนที่ที่มีวงจรเรียงกระแส
1.2 สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสประกอบด้วย 1 ตัววัด
1.2 สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า (ต่อ) ความหมาย เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสประกอบด้วย 2 ตัววัด เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสประกอบด้วย 3 ตัววัด
1.3 สัญลักษณ์การวางเครื่องวัดไฟฟ้า สัญลักษณ์ ความหมาย วางในแนวตั้งฉาก วางเป็นมุมเอียงตามที่ กำหนดไว้ (เช่น 60 องศา) 60o วางในแนวนอน
1.4 สัญลักษณ์เครื่องหมายการค้า ความหมาย SANWA ยี่ห้อ ซันวา YOGOGAWA ยี่ห้อ โยโกกาวา METRIX ยี่ห้อ เมทริกซ์
! 1.5 สัญลักษณ์อื่นๆ สัญลักษณ์ ความหมาย ตำแหน่งการปรับชี้ศูนย์ ข้อควรระวัง ผ่านการทดสอบฉนวนด้วย แรงดันไฟฟ้าขนาด 5kV 5
ถ้าโลกนี้ไม่มีเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดใดๆ เราจะทราบปริมาณไฟฟ้า ได้หรือไม่ คำถามพัฒนาความคิด ถ้าโลกนี้ไม่มีเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดใดๆ เราจะทราบปริมาณไฟฟ้า ได้หรือไม่ และอย่างไร ?