Theories of Innovation and Information Technology for Learning
พุทธิปัญญานิยม Cognitive Theories
การเรียนรู้คือ? พุทธิปัญญานิยม สิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่าความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของมนุษย์
การเรียนรู้เกิดจาก? พุทธิปัญญานิยม การค้นพบด้วยตัวเอง ปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม การเรียนรู้เกิดจาก? พัฒนาการทางสติปัญญา การเชื่อมโยงความรู้
พุทธิปัญญานิยม
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ พุทธิปัญญานิยม ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ 1. คำอธิบาย 5. ความคิด 3. การทดลอง 7. ความเชื่อ 2. การใช้ภาพประกอบ 6. ทัศนคติ 8. ค่านิยม 4. สภาพแวดล้อม
บทบาทของหน่วยความจำคือ? พุทธิปัญญานิยม บทบาทของหน่วยความจำคือ? ได้รับบทบาทสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ ข้อมูลถูกจัดเก็บสะสมในการจัดการของหน่วยความจำ
การถ่ายโอนความรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร? พุทธิปัญญานิยม การถ่ายโอนความรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร? ผู้เรียนมีความเข้าใจในวิธีการที่จะเรียนรู้ในบริบทที่ต่างกัน แนวคิด การแยกแยะ
ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ พุทธิปัญญานิยม ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ อธิบายเรื่องที่ซับซ้อนของการเรียนรู้ ให้ความสำคัญกับโครงสร้างภายในจิตใจ การประมวลผลข้อมูล เหตุผล การแก้ปัญหา
พฤติกรรมนิยม Behavioral Theories
ความหมายการเรียนรู้ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม สภาพแวดล้อม การตอบสนอง เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พฤติกรรมนิยม การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร สิ่งเร้า เกิดการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ประสาทสัมผัส ปฏิกิริยาตอบสนอง การรับรู้ ความคิดรวบยอด
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ พฤติกรรมนิยม ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ เพิ่ม เสริมแรง ทางบวก สิ่งแวดล้อม สิ่งเร้า พฤติกรรม ผลการกระทำ เสริมแรง ทางลบ พฤติกรรม ผลการกระทำ สิ่งแวดล้อม สิ่งเร้า ลด
บทบาทของหน่วยความจำ พฤติกรรมนิยม ความจำระยะสั้น ความจำระยะยาว ไม่ใช้งาน ลืม ใช้งานบ่อย จำ
การถ่ายโอนหรือถ่ายโยงความรู้ พฤติกรรมนิยม การถ่ายโอนหรือถ่ายโยงความรู้ สิ่งเร้า เชื่อมโยง พึงพอใจ พฤติกรรม ลองผิดลองถูก แสดงพฤติกรรมนั้น ความจำ สิ่งเร้าใหม่ (สถานการณ์)
พฤติกรรมนิยม แนวทาง/กิจกรรมการเรียนรู้มีลักษณะอย่างไร? 1. ใช้พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นพื้นฐานในการออกแบบการเรียนการสอน 2. คำนึงถึงความพร้อมและเวลาของผู้เรียน 3. ให้ทางเลือกในการเรียนที่หลากหลาย
ความเกี่ยวข้องโดยตรง พฤติกรรมนิยม สอนง่าย ยาก ทดสอบก่อนเรียน การมีหลักการที่มี ความเกี่ยวข้องโดยตรง มาใช้ในการออกแบบ การเรียนการสอน ใช้แรงเสริม วัดผลได้ โดยการสังเกต Feedback
คอนสตรัคติวิสต์ Constructivism
กระบวนการซึ่งแต่ละบุคคลสร้างความหมายจากประสบการณ์ของตนเอง คอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้คือ? กระบวนการซึ่งแต่ละบุคคลสร้างความหมายจากประสบการณ์ของตนเอง
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร? คอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร? การเรียนรู้ไม่ใช่เกิดจากการจำเท่านั้น แต่ละบุคคลนำประสบการณ์เดิม มาเชื่อมโยงกับประสบการณ์หรือความรู้ใหม่ เพื่อสร้างเป็นความรู้ความเข้าใจในแบบของตนเอง
ผู้เรียนและปัจจัยแวดล้อมทั้งสองอย่างมีความจำเป็นต่อการพัฒนาความรู้ คอนสตรัคติวิสต์ อะไรคือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้? ผู้เรียนและปัจจัยแวดล้อมทั้งสองอย่างมีความจำเป็นต่อการพัฒนาความรู้
บทบาทของหน่วยความจำคืออะไร? คอนสตรัคติวิสต์ บทบาทของหน่วยความจำคืออะไร? 1. บุคคลรู้แค่ข้อมูลแต่สามารถอธิบายเพิ่มเติมและแปลข้อมูลได้ 2. สามารถดึงดึงข้อมูลมาจากความทรงจำได้ที่มีอยู่มาใช้ได้
การถ่ายโอนหรือถ่ายโยงความรู้ (transfer) เกิดขึ้นได้อย่างไร? คอนสตรัคติวิสต์ การถ่ายโอนหรือถ่ายโยงความรู้ (transfer) เกิดขึ้นได้อย่างไร? ความสามารถในการแยกแยะความแตกต่างในตัวบุคคลซึ่งสามารถเชื่อมโยงกันได้ผ่านข้อมูลที่แต่ละบุคคลมีในหน่วยความจำ
แนวทาง/กิจกรรมการเรียนรู้มีลักษณะอย่างไร? คอนสตรัคติวิสต์ แนวทาง/กิจกรรมการเรียนรู้มีลักษณะอย่างไร? 1. การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) ความรู้จะถูกสร้างจากประสบการณ์การเรียนรู้ 2. การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การเรียนรู้เป็นการแปลความหมายตามสภาพจริง (Real world) ของแต่ละคน 3. การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทำ (Learning active) การเรียนรู้เป็นการที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ 4. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) 5. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) 6. การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated)
น.ส. ตองตา โชครัตน์ประภา สมาชิก น.ส. ณชนก เพ็งสว่าง 563050190-1 น.ส. ตองตา โชครัตน์ประภา 563050194-3 น.ส. ละมุล ลาลุน 563050206-2