Electronic Circuits Design

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Combination Logic Circuits
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
อัตราสวูล์กับแบนด์วิทธ์เต็มกำลัง
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Biomedical Electronics Biomedical Amplifiers
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ว ความหนืด (Viscosity)
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Second-Order Circuits
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Basic Programming for AVR Microcontroller
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ไดแอก ( DIAC ) .
เจเฟต Junction Field-effect transistor
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
Electronic Circuits Design
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Electronic Circuits Design Pinit Nuangpirom RMUTL

Basic of OP-AMP Operational Amplifiers

Basic of OP-AMP

Idea OP-AMP Av เป็นอัตราการขยายแรงดันซึ่งมีค่าสูงมาก จึงเป็นคุณสมบัติที่พิเศษสุดของออปแอมป์ ออปแอมป์แบบอุดมคติ จะมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขดังนี้ 1. อัตราการขยายแรงดัน สูงมากจนเป็นอนันต์ 2. ความต้านทานทางอินพุต สูงมากจนเป็นอนันต์ 3. ความต้านทานทางเอาท์พุท ต่ำมากจนเป็นศูนย์ 4. แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 5. กระแสออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 6. ลักษณะสมบัติเชิงความถี่ ขยายได้ดีตั้งแต่ไฟตรง จนความถี่สูงมากเป็นอนันต์

Idea OP-AMP Av เป็นอัตราการขยายแรงดันซึ่งมีค่าสูงมาก จึงเป็นคุณสมบัติที่พิเศษสุดของออปแอมป์ ออปแอมป์แบบอุดมคติ จะมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขดังนี้ 1. อัตราการขยายแรงดัน สูงมากจนเป็นอนันต์ 2. ความต้านทานทางอินพุต สูงมากจนเป็นอนันต์ 3. ความต้านทานทางเอาท์พุท ต่ำมากจนเป็นศูนย์ 4. แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 5. กระแสออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 6. ลักษณะสมบัติเชิงความถี่ ขยายได้ดีตั้งแต่ไฟตรง จนความถี่สูงมากเป็นอนันต์

Basic of OP-AMP

Basic of OP-AMP

Basic of OP-AMP ความต้านทานอินพุต

Basic of OP-AMP ความต้านทานเอาต์พุต

Basic of OP-AMP ความต้านทานเอาต์พุต

Basic of OP-AMP แรงดันออฟเซททางอินพุท แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นเรื่องสำคัญมากเรื่องหนึ่ง เมื่อเราศึกษาเรื่องออปแอมป์ แรงดันออปเซททางอินพุทหมายถึง แรงดันขนาดเล็กที่ปรากฏระหว่างอินพุทบวกลบ ของออปแอมป์ในขณะที่แรงดันอินพุทเป็นศูนย์

Basic of OP-AMP กระแสไบแอสทางอินพุท กระแสไบแอสทางอินพุท หมายถึง กระแสที่ไหลเข้าหรือออกจากขั้วบวกหรือลบ ของอินพุทของออปแอมป์ไม่เกี่ยวข้องกับความต้านทานทางอินพุทของออปแอมป์ ปกติกระแสไบแอสทางอินพุท จะมีองค์ประกอบไฟตรงเป็นหลักในขณะที่ความต้านทาน ทางอินพุท จะมีองค์ประกอบทางไฟสลับเป็นหลัก

Basic of OP-AMP กระแสออฟเซททางอินพุท ตามปกติกระแสไบแอสที่ไหลเข้าขั้วบวกและลบของออปแอมป์จะไม่เท่ากันทีเดียวนัก ความแตกต่างของกระแสทั้งสองนี้ เรียกว่ากระแสออฟเซททางอินพุทของออปแอมป์ ยกตัวอย่างเช่น กระแสไบแอสที่ไหลเข้าทางขั้วบวกเป็น 110 microA และที่ขั้วลบเป็น 90 microA เราจะเขียนว่ากระแสไบแอสเท่ากับ 100 microA และกระแสออฟเซททาง อินพุทเท่ากับ 20 microA เป็นต้น

Basic of OP-AMP กระแสออฟเซททางอินพุท

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท สลูว์เรท (Slew rate) สลูว์เรท หมายถึง ความสามารถในการให้เอาท์พุท เพื่อไล่ให้ทัน การเปลี่ยนแปลงทางอินพุท ที่ป้อนเข้ามา ถ้าป้อนแรงดันรูปคลื่นสี่เหลี่ยมซึ่งมีแอมปลิจูด ใหญ่ให้กับออปแอมป์ แล้ววัดดูความเร็วในการขึ้นลงของรูปคลื่นทางเอาท์พุทจะได้ เป็นค่าสลูว์เรทออกมา ตัวอย่างเช่นเอาท์พุทให้แรงดันที่เปลี่ยนแปลงไป 10 V ในเวลา 0.1 mS แสดงว่ามีสลูว์เรท เท่ากับ 10 / 0.1 microS = 100V / microS คลื่นสามเหลี่ยมความถี่ 1Hz ขนาด 1 Vpp จะมีสลูว์เรทเท่ากับ 0.5 V / 0.25 microS หรือ 2 V / Sec แต่ถ้าขนาดเพิ่มเป็น 10 Vpp ค่าสลูว์เรทจะเป็น 5 V / 0.25 Sec หรือ 20 V / Sec นั่นเอง ซึ่งจะเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าตัว อัตราการเปลี่ยนแรงดันนี้เราเรียกว่า สลูว์เรท

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท สลูว์เรท (Slew rate) สลูว์เรท หมายถึง ความสามารถในการให้เอาท์พุท เพื่อไล่ให้ทัน การเปลี่ยนแปลงทางอินพุท ที่ป้อนเข้ามา ถ้าป้อนแรงดันรูปคลื่นสี่เหลี่ยมซึ่งมีแอมปลิจูด ใหญ่ให้กับออปแอมป์ แล้ววัดดูความเร็วในการขึ้นลงของรูปคลื่นทางเอาท์พุทจะได้ เป็นค่าสลูว์เรทออกมา

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสลูว์เรท คือ การที่จะให้รูปคลื่นที่สมบูรณ์มี ขนาดใหญ่ได้เท่าใด ในขณะที่ ความถี่สูงขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับผลตอบสนองทางความถี่เลย

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสลูว์เรท คือ การที่จะให้รูปคลื่นที่สมบูรณ์มี ขนาดใหญ่ได้เท่าใด ในขณะที่ ความถี่สูงขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับผลตอบสนองทางความถี่เลย ผลิตสัญญาณรูปซายน์ความถี่ 1 MHz ขนาด 20 Vp-p ได้นั้น ออปแอมป์จะต้อง มีสลูว์เรทถึง 62.8 V / microS

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ออปแอมป์เบอร์ LM741 ที่นิยมใช้กันนั้น มีสลูว์เรทเพียง 0.5 V / microS ถ้าจะนำมาผลิตรูปคลื่นซายน์ที่มีขนาด 20 Vp-p ก็คงจะได้ความถี่เพียงประมาณ 10 KHz เท่านั้นเอง แต่ถ้าใช้ LM741 เป็นบัฟเฟอร์ที่มีอัตราขยายเพียง 1 เท่า และพยายามผลิตสัญญาณให้ได้ 1 MHz ก็จะได้ขนาดสัญญาณเพียง 0.1 V เท่านั้น