ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
Advertisements

ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
ของเด็กชายกลวัชร เชื้อ เกตุ
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar)
คลิกที่รูป... สู่ ฮานอย เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจถึงเมื่อปี พ. ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25%
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ช.ชณะชล อิ่มเพ็ง กลุ่ม 15 เลขที่ 39.
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
นครแห่งศิลปะ และ ดนตรี
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
ASEAN ASSOCIATION MALAYSIA.
ปัจจุบันประเทศอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ธงชาติ ตรา แผ่นดิน ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ประเทศสิงคโปร์.
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
ประเทศบรูไน จัดทำโดย เด็กหญิงณัฐธัญนันท์ อภิรชตานนท์
สมาชิกในอาเซียน.
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ASEAN ASSOCIATION THAILAND ราชอาณาจักรไทย Kingdom of Thailand ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีพรมแดนทางทิศ ตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศ.
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
Welcome.
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ของเด็กหญิงไอรดา ภาคสุข
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน ด้านล่างเป็นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศมาเลเซียใครสนใจอยากอ่านก็จะได้ความรู้เพิ่มเติมอ่ะล่ะ ประเทศมาเลเซียประกอบด้วยพื้นที่ 2 ส่วนด้วยกัน คือ พื้นที่แหลมมลายู หรือมาเลเซียตะวันตก ซึ่งตอนเหนือของประเทศติดต่อกับประเทศไทย และพื้นที่บนเกาะบอเนียว (Borneo) หรือมาเลเซียตะวันออกซึ่งมีประเทศบรูไน และส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซียตั้งอยู่ พื้นที่ 330,400 ตร.กม.  เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์  ภูมิอากาศ เขตร้อนชื้น (Tropical Climate) อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 22-36 องศาเซลเซียส ซึ่งไม่สูงนักเนื่องจากภูมิประเทศเป็นเขตป่าร้อนชื้นมีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ฝนตกโดยเฉลี่ย 250 เซนติเมตรต่อปี  อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 3.7 ริงกิต(โดยประมาณ) และ 1 ริงกิต เท่ากับ 11 บาท (โดยประมาณ)  ศาสนา ศาสนาประจำชาติ คือ ศาสนาอิสลาม อย่างไรก็ดี มีผู้นับถือศาสนาพุทธ คริสต์ ลัทธิเต๋า ฮินดูหรือซิกห์ อยู่ทั่วไป 

10 ประเทศเอเซีย 1.ประเทศพม่า พม่า หรือ เมียนมา (อังกฤษ: Myanmar, พม่า: မြန်မာ) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (อังกฤษ: Republic of the Union of Myanmar; พม่า: ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော် [pjìdà̀uɴzṵ θà̀ɴməda̯ mjəmà nàiɴŋàɴdɔ̀] ปี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มยะหม่า ไหน่หงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พม่ายังเป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 24 ของโลก โดยมีประชากรกว่า 60.28 ล้านคน นับแต่ได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2491 ประเทศพม่าเผชิญกับหนึ่งในสงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อที่สุดท่ามกลางกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่มากมายซึ่งยังแก้ไม่ตก ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 ถึง 2554 ประเทศพม่าอยู่ภายใต้ระบอบเผด็จการทหาร คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองถูกยุบอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2554 หลังการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2553 และมีการตั้งรัฐบาลพลเรือนในนามแทน แต่ทหารยังมีอิทธิพลอยู่มาก

10 ประเทศอาเซียน 1 .บลูไน บรูไนเป็นที่รู้จักและมีอำนาจมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยมีอาณาเขตครอบครองส่วนใหญ่ของเกาะบอร์เนียวและส่วนหนึ่งของหมู่เกาะซูลู มีชื่อเสียงทางการค้า สินค้าส่งออกที่สำคัญในสมัยนั้น ได้แก่ การบูร พริกไทย และทองคำ หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอำนาจลงเนื่องจากสเปน และฮอลันดาได้แผ่อำนาจเข้ามา จนถึงสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ด้วยความวิตกว่าจะต้องเสียดินแดนต่อไปอีก บรูไนจึงได้ยินยอมเข้าอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษ และต่อมาในปี พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) บรูไนสำรวจพบน้ำมันและแก๊สธรรมชาติที่เมืองเซรีอา ทำให้บรูไนมีฐานะมั่งคั่งในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ได้มีการเลือกตั้ง ซึ่งพรรคประชาชนบอร์เนียว (Borneo People’s Party) ได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ถูกกีดกันไม่ให้จัดตั้งรัฐบาล ต่อมาจึงได้ยึดอำนาจจากสุลต่าน แต่สุลต่านทรงได้รับความช่วยเหลือจากกองทหารกูรข่าที่อังกฤษส่งมาจากสิงคโปร์ หลังจากนั้นได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉิน และต่ออายุทุก ๆ 2 ปี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน