เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง การออกกำลังกายสำหรับผู้เป็น…... เบาหวาน การดูแลรักษาเท้าและให้สะอาด ความรู้เรื่องโรค เบาหวาน ประโยชน์ของการออกกำลังกายในผู้เป็นเบาหวาน * ช่วยให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ขณะออกกำลังกาย * ช่วยให้น้ำหนักตัวลดลง ซึ่งทำให้อาการ ของโรคเบาหวานดีขึ้น * ช่วยลดไขมันในเส้นเลือด ซึ่งจะลดโรคแทรกซ้อน บางอย่างของเบาหวานได้ หมั่นตรวจรองเท้าก่อนสวม ล้างเท้าให้สะอาดทุกวัน เช็ดเท้าให้แห้ง ทานวดน้ำมัน ตัดเล็บเท้าให้เป็นเส้นตรง ไม่เดินเท้าเปล่า ถุงเท้าสั้นหรือยาวที่สะอาดไม่คับ ใส่รองเท้าที่พอเหมาะพอดี หลักการออกกำลังกาย ไม่จำเป็นต้องหักโหม แต่ควรทำให้สม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละครึ่งถึงหนึ่งชั่งโมง และควรเลือกออกกำลังกายให้เหมาะสมกับสภาพ ร่างกายของแต่ละคน เช่น * อายุมาก อาจเพียงเดินหรือบริหารท่าง่ายๆ * ในรายที่มีโรคหัวใจแทรก ต้องระมัดระวัง ต้องหยุดทันที เมื่อรู้สึกเหนื่อย หรือแน่นหน้าอก การดูแลตนเอง 1. ควบคุมอาหารอย่าปล่อยให้อ้วน ไม่รับประทานของหวาน 2. ออกกำลังกายพอควรและสม่ำเสมอ 3. หมั่นตรวจน้ำตาลในเลือดและปัสสาวะ 4. รับประทานยาหรือฉีดยาตามแพทย์สั่ง 5. งดสูบบุหรี่ ดื่มสุราและของเค็ม 6. ดูแลรักษาเท้าให้สะอาดอยู่เสมอ 7. ทำจิตใจให้สบาย 8. มีท๊อฟฟี่หรือน้ำตาลติดตัว เพื่อป้องกันอาการ หมดสติจากน้ำตาลในเลือดต่ำ 9. ถ้ามีแผลหรือความผิดปกติใดๆ ควรปรึกษาแพทย์ทันที ด้วยความปารถนาดี จาก ฝ่ายสุขศึกษา โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โทร.(055) 411064 ต่อ 455 ขอข้อมูลเพิ่มเติมหรือให้ข้อเสนอแนะได้ที่ กลุ่มงานสุขศึกษา....โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โทร. (055) 411064 ต่อ 1116 , 2159

การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน โรคเบาหวาน อาการ การดูแลรักษา เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรคที่ร่างกาย ไม่สามารถใช้น้ำตาลได้ตามปกติ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น และถูกขับออกมา ทางปัสสาวะ 1. ปัสสาวะบ่อยและมีมดขึ้น 2. ดื่มน้ำบ่อยและมาก 3. กินจุแต่ผอมลงเรื่อยๆ 4. น้ำหนักลดและอ่อนเพลีย 5. เป็นแผลหรือฝีง่ายแต่หายยาก 6. คันตามผิวหนังและบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ 7. เจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ ชาตามมือเท้า หมดความรู้สึกทางเพศ 8. ตาพร่ามัว ต้องเปลี่ยนแว่นบ่อยๆ 9. คลอดบุตรน้ำหนักเกิน 4000 กรัม ในแม่ที่เป็นเบาหวาน โรคนี้เป็นแล้วไม่หายขาด แต่สามารถควบคุมได้ ต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง คือ 1. ควบคุมอาหาร 2. ออกกำลังกาย 3. ยาลดระดับน้ำตาล 4. การเรียนรู้และการดูแลรักษาตนเอง การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน สาเหตุ ลด…หลีกเลี่ยง….งด * ลดอาหารจำพวกแป้งลง * หลีกเลี่ยงการกินเครื่องในสัตว์ ไขมันสัตว์ ครีม กะทิ อาหารทอด นำมันปาล์ม * หลีกเลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานจัด เช่น ทุเรียน ลำไย * งดอาหารที่ใส่น้ำตาลมาก บุหรี่ สุรา สาเหตุการเป็นโรคเบาหวานยังไม่แน่นอนแต่องค์ประกอบที่สำคัญๆ ที่อาจเป็นต้นเหตุของการเกิดโรค ดังนี้ 1. กรรมพันธุ์ มักพบโรคนี้ในผู้ที่มีบิดา มารดา ญาติ เป็นเบาหวาน 2. จากเชื้อโรคหรือยาบางชนิดไปทำลายเซลล์ของ ตับอ่อน ทำให้ตับอ่อนไม่สามารถหลั่งฮอร์โมน อินสุลินได้เพียงพอ 3. ความอ้วน ความเครียด การไม่ออกกำลังกาย การตั้งครรภ์บ่อย โรคแทรกซ้อน * แบบเฉียบพลัน - การติดเชื้อโรคได้ง่าย เช่น เป็นแผลหรือฝี ซึ่งลุกลามเร็ว แผลที่เท้า วัณโรคปอด เป็นต้น - ภาวะหมดสติจากน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำมาก * แบบเรื้อรัง - หลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ ทำให้เจ็บหน้าอก, หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจตาย ทำให้เป็นอัมพาต กลืนลำบาก พูดไม่ชัด - ตาพร่า ตามัว ตาบอด, ไตอักเสบ, ไตวายประสาทอักเสบ ชาปลายมือ-ปลายเท้า ปัสสาวะลำบากหมดความรู้สึก ทางเพศ ท้องผูกสลับท้องเดิน โรคแทรกซ้อนมีมาก แต่ สามารถป้องกันได้ โดยการควบคุมรักษาเบาหวาน ให้ดีจะเกิดได้น้อย และไม่รุนแรง ควรกินอย่างไรดี ! * กินอาหารครบ 5 หมู่ กินผักให้มากขึ้น * กินข้าวตามกำหนด ถ้าไม่อิ่มให้กินผักเพิ่ม * กินผลไม้ที่มีรสหวานน้อย เช่น ส้มโอ ฝร่ง พุทรา * ใช้เต้าหู้ ถั่วต่างๆ ทำอาหารให้มากขึ้น * ใช้น้ำมันพืชแทนไขมันสัตว์ เช่น น้ำมันรำข้าว ถั่วเหลือง * กินอาหารให้ตรงเวลา * กินยาตามแพทย์สั่ง อย่างเคร่งครัด * ควรกระจายอาหารออกเป็นมื้อย่อยๆ คือ กินทีละน้อยแต่กินทุกมื้อ เพื่อให้ร่างกายค่อยๆ ย่อยอาหารได้ง่าย กว่ากินทีละมากๆ