โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เพราะความเป็นห่วง.
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
เคล็ดลับรักษาสิวตัวเรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
สิ่งที่ไม่ควรทำหลังการรับประทานอาหาร (7 ประการ)
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
โรคกรดไหลย้อน ท้องอืดรักษาด้วย น้ำกระเพรา.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
โรคเบาหวาน Diabetes.
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
เหตุการณ์สำคัญทางเทคโนโลยีในมุมมองของนักเคมี III. สุขภาพและการแพทย์ ความรู้ทางด้านเคมีได้มีส่วนช่วยชีวิตคนจำนวนมากทางด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ทำให้ เรามีชีวิตอยู่ยืนยาวขึ้น.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ศัลยกรรมเสริม หน้าอก. สารบัญ  ลักษณะของถุงเต้านมเทียม  รูปทรงของถุงเต้านม  ขั้นตอนการผ่าตัดเสริมหน้าอก  การดูแลหลังการผ่าตัดเสริมหน้าอก.
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โรคกระเพาะอาหาร.
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคกระเพาะอาหาร Gastritis

สารบัญ -โรคกระเพาะอาหารคืออะไร -สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร -อาการของโรคกระเพาะอาหาร -วิธีรักษาโรคกระเพาะอาหาร -ภาวะแทรกซ้อนโรคกระเพาะอาหาร -วิธีป้องกันโรคกระเพาะอาหาร -สมุนไพรรักษาโรคกระเพาะอาหาร

โรคกระเพาะอาหารคืออะไร

โรคกระเพาะอาหารคืออะไร โรคนี้มีชื่อเต็ม ๆ ว่า "โรคแผลในกระเพาะอาหาร" แต่คนส่วนใหญ่เรียกสั้น ๆ ว่า โรคกระเพาะอาหาร หรือ โรคกระเพาะ แต่จริง ๆ แล้วโรคนี้ยังหมายถึงโรคแผลที่ลำไส้เล็ก โรคกระเพาะอาหารอักเสบ และโรคลำไส้เล็กอักเสบอีกด้วย

สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร

สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. กลุ่มโรคกระเพาะชนิดมีแผล อาจเป็นแผลตรงกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนต้น สาเหตุอาจเกิดจาก - การใช้ยาต้านการอักเสบบางชนิด เช่น ยาแอสไพริน ไอบูโพรเฟน อินโดเมทาซิน นาโพรเซน ไพร็อกซิแคม ไดโคลฟีแนก ฯลฯ ซึ่งเป็นยาแก้ปวดต่าง ๆ หากใช้ติดต่อกันนาน อาจทำให้เกิดแผลในกระเพาะได้ - ติดเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร (Helicobacterpylori) หรือ เอชไพโลไร (H. pylori) ซึ่งติดต่อได้จากการกินอาหาร เชื้อนี้จะอาศัยอยู่ในชั้นเมือกที่ปกคลุมผิวกระเพาะอาหาร และยังสร้างสารพิษทำลายเซลล์เยื่อบุผิวของกระเพาะอาหารได้ และนี่ก็เป็นสาเหตุสำคัญอันดับหนึ่งที่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร อาจเรื้อรังถึงขั้นมะเร็งกระเพาะอาหารได้

สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร(ต่อ) 2. กลุ่มโรคกระเพาะชนิดไม่มีแผล มีสาเหตุหลากหลาย เช่น -การรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา -การสูบบุหรี่ -การดื่มสุรา กาแฟ -ความเครียด -การรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด -ภาวะกรดในกระเพาะไหลย้อนขึ้นมาหลอดอาหาร *ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารระคายเคืองจนเกิดการอักเสบเรื้อรัง แล้วนำไปสู่การเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้นได้

อาการของโรคกระเพาะอาหาร

อาการของโรคกระเพาะอาหาร -ปวดหรือจุกแน่นท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่ เวลาท้องว่าง หรือเวลาหิว แต่บรรเทาได้ด้วยการทานอาหารหรือยาลดกรด แต่ในบางคนจะยิ่งปวดมากขึ้นหลังทานอาหาร โดยเฉพาะทานอาหารที่รสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด -มักปวดแบบเป็น ๆ หาย ๆ มานานเป็นปี โดยมีช่วงเว้นที่ปลอดอาการค่อนข้างนาน เช่น ปวดอยู่ 1-2 สัปดาห์ และหายไปหลาย ๆ เดือน จึงกลับมาปวดอีก -ปวดแน่นท้องกลางดึกหลังจากหลับไปแล้ว -บางคนอาจมีอาการกำเริบเวลากินยาแอสไพริน ยาแก้ปวดข้อ ดื่มแอลกอฮอล์ กาแฟ ของมันๆ ของหวานๆ อาหารที่ย่อยยาก หรือกำเริบในช่วงที่กินอาหารผิดเวลาหรือปล่อยให้หิวนานๆ หรือเวลามีความเครียด

วิธีรักษาโรคกระเพาะอาหาร

วิธีรักษาโรคกระเพาะอาหาร แพทย์จะให้กินยาลดกรด หรือยารักษาแผลกระเพาะอาหาร ติดต่อกันอย่างน้อย 4-8 สัปดาห์ รวมทั้งให้ยากำจัดเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร ในกรณีที่ตรวจพบเชื้อจากการตรวจส่องกล้องทางเดินอาหาร แต่หากสาเหตุเกิดจากโรคกระเพาะชนิดไม่มีแผล และมักเป็น ๆ หาย ๆ แพทย์จะให้คำแนะนำในการหลีกเลี่ยงอาหารและสิ่งที่ทำให้อาการกำเริบ เช่น เลี่ยงของเผ็ด ของมัน เลิกสูบบุหรี่ ดื่มสุรา รวมทั้งแนะนำให้ผ่อนคลายความเครียด ออกกำลังกาย ทั้งนี้ ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารที่ย่อยง่าย อาหารอ่อน ๆ ในช่วงทำการรักษา จนเมื่อมีอาการดีขึ้นแล้วจึงค่อย ๆ กลับมารับประทานอาหารที่ใกล้เคียงปกติได้ สิ่งที่ต้องระวังก็คือ โรคกระเพาะอาหารนี้มักเป็นเรื้อรัง เมื่อรักษาแผลหายแล้วก็อาจกลับมาเป็นซ้ำได้อีก หากไม่ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง หรือยังไม่สามารถกำจัดเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหารให้หมดไปได้