ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Advertisements

ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
Information Technology and Public Management
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
Health System Reform.
จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวร ศักดิ์ อุวรรณโณ ราชบัณฑิต ประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 13 1.
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
Office of The National Anti-Corruption Commission
การประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม.
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
ตลาดทุนไทยหลัง CG-ROSC: ทิศทางในอนาคต
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
กระบวนทัศน์การบริหารงานยุติธรรม
การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
ชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ธรรมาภิบาลในภาครัฐ โดย สุธรรม ส่งศิริ.
แนวบรรยาย เรื่อง หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
ทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหาร สายสนับสนุนและช่วยวิชาการ
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
Dr.Pokkrong Manirojana
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
๑. แนะนำหนังสือ ๑.๑ กษัตริย์นักพัฒนา. สำนักงาน กปร. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๓.
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
สถาบันอุดมศึกษา ต้องพัฒนาเป็นธรรมาภิบาล
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
3. ระบบศาลในกฎหมายปกครอง
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
รางวัลและโทษทัณฑ์ ข้อมูลและการสื่อสาร กับ การระงับข้อพิพาท
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ราชบัณฑิต เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า

governance (การอภิบาล) I. ธรรมาภิบาล = ระบบการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี governance (การอภิบาล) = วิธีการใช้อำนาจเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรขององค์กร good governance (ธรรม + อภิบาล = ธรรมาภิบาล) = วิธีการที่ดีในการใช้อำนาจ เพื่อบริหารจัดการทรัพยากร ขององค์กร

ธรรมาภิบาลภาคระหว่างประเทศ (global good governance) ธรรมาภิบาลภาครัฐ (good governance) ธรรมาภิบาลภาคธุรกิจ (corporate good governance) ธรรมาภิบาลภาคประชาสังคม (civil society good governance) หลักธรรมาภิบาล (good governance principles) ธรรมาภิบาลภาคปัจเจกบุคคล (individual good governance)

องค์ประกอบธรรมาภิบาล 1. เป้าหมายของการบริหารจัดการ 2. โครงสร้างและกระบวนการบริหารจัดการ 3. สภาพแวดล้อมของการบริหารจัดการ

เป้าหมาย : ความเป็นธรรม, ความถูกต้อง, ความมีประสิทธิภาพ/ผล ธรรมาภิบาล โครงสร้างวิธีการ การมีความรับผิดชอบ ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม - การยึดหลักนิติธรรม สภาพแวดล้อม กฎหมาย, ระเบียบ ประมวลจริยธรรม ประมวลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม

เป้าหมายของการบริหารจัดการที่ดี 1. มีความเป็นธรรม (equity) 2. มีความสุจริตไม่ผิดไปจากความถูกต้อง (integrity) 3. มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล (efficiency & effectiveness)

ความเป็นธรรม (equity) = การที่กลุ่มต่าง ๆ ได้ส่วนที่ควรจะได้ - ความเป็นธรรมในกระบวนการตัดสินใจ - ความเป็นธรรมในผลการตัดสินใจ

ความถูกต้อง (integrity) - ความสุจริต (honesty) - การไม่ยอมให้ผู้อื่นทำผิด Minxim Pei พบว่า การเพิ่มขึ้นทางเสรีภาพทางการเมือง 1 หน่วย หรือ เสรีภาพทางเศรษฐกิจ 1 หน่วย มีผลโดยตรงที่ทำให้เกิด ธรรมาภิบาล ถึง 3 เท่า

โครงสร้างและวิธีบริหารจัดการ 1. มีความรับผิดรับชอบ (accountability) 2. มีความโปร่งใส (transparency) 3. มีส่วนร่วมที่เหมาะสม (participation) 4. ยึดหลักนิติธรรม (rule of law)

ความรับผิดรับชอบ (accountability) - หลักทั่วไป 1. มีหลักฐาน ตรวจสอบได้ 2. รู้ตัวกัน รู้เรื่อง รู้ผล 3. รับผล - ความรับผิดชอบทางการเมือง ,ทางสังคม ,ทางวิชาชีพ ทางกฎหมาย

ความโปร่งใส (transparency) - ในตัวผู้ใช้อำนาจ - ในกระบวนการตัดสินใจ : กฎหมายข้อมูลข่าวสาร - สื่อมวลชน / ประชาสังคม

การจัดสรรทรัพยากรที่เป็นธรรม ส่วนร่วม การจัดสรรทรัพยากรที่เป็นธรรม ความยั่งยืน ส่วนร่วมนำมาซึ่งความโปร่งใส / ความรับผิดชอบ

หลักนิติธรรม รัฐ – ประชาชน เคารพกฎหมาย มีศาลที่เป็นอิสระ

สภาพแวดล้อมของธรรมาภิบาล 1. กฎหมาย ระเบียบ (Laws & Regulations) 2. จริยธรรม (Ethics) 3. การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) 4. วัฒนธรรม (Culture)

ธรรมาภิบาลภาครัฐ ธรรมาภิบาล (Good Governance) = การบริหารจัดการ หรือการปกครองที่ดี คือ การใช้อำนาจในการบริหารจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจและสังคม อย่างสมดุล และเป็นธรรม เพื่อการพัฒนาของประเทศหนึ่งๆ อธรรมาภิบาล (Bad Governance) = มีความหมาย ในทางตรงกันข้าม

องค์ประกอบธรรมาภิบาล 1. เป้าหมายธรรมาภิบาล : การจัดสรรทรัพยากรที่สมดุลและเป็นธรรม 2. โครงสร้างและกระบวนการธรรมาภิบาล : ส่วนร่วม (Participation) ความรับผิดชอบ (Accountability) ความโปร่งใส (Transparency) ความสุจริต (Integrity) 3. สาระของธรรมาภิบาล : ผลที่เกิดขึ้นต่อคนในสังคมอันได้แก่ การพัฒนาที่สมดุล

อธรรมาภิบาลในอดีต 1. เป้าหมาย : การให้ความสำคัญกับคนบางกลุ่มบางภาค 1. เป้าหมาย : การให้ความสำคัญกับคนบางกลุ่มบางภาค โดยเฉพาะภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เพื่อส่งออก

2. โครงสร้าง และกระบวนการมีปัญหา : 2.1 รัฐรวมศูนย์อำนาจ (ร่วมกับธุรกิจเอกชน) ขาดส่วนร่วมจากภาคต่างๆ 2.2 กฎหมายให้อำนาจรัฐมาก ไม่มีระบบตรวจสอบความรับผิดชอบที่ดี 2.3 การตัดสินใจขาดความโปร่งใส 2.4 มีความไม่สุจริต เกิดขึ้นมากมาย

3. ผลลัพธ์ : ความไม่สมดุลในการจัดสรรทรัพยากรในสังคม ปี 2513 คนจนที่สุด 20 % เป็นเจ้าของรายได้ประชาชาติ 6 % ปี 2549 คนรวยที่สุด 20 % เป็นเจ้าของรายได้ 56.29 % คนจนที่สุด 20 % เป็นเจ้าของรายได้ 3.84 % ยิ่งพัฒนา ยิ่งมีปัญหา

ทรัพย์สินครัวตามกลุ่มรายได้ พ.ศ. 2549 (1 = จนสุด : 5 = รวยสุด) ค่าสัมประสิทธิ์จินี (Gini)=0.7 ที่มา: Kiatpong, Wilatluk and Nalin 2008

ทรัพย์สินครัวตามกลุ่มรายได้ พ.ศ. 2549 (1 = จนสุด : 10 = รวยสุด) ที่มา: Kiatpong, Wilatluk and Nalin 2008

เงินฝาก และหุ้น 7 หมื่นบัญชีมีเงินฝาก 42% ของทั้ง ประเทศ 11 ตระกูลผลัดกันเป็นเจ้าของหุ้นที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรก ที่มา: ผาสุก พงษ่ไพจิตร งานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11

ขนาดของที่ดิน ร้อยละ ไม่มีที่ดินเลย น้อยกว่า 10 ไร่ 10 – 19 ไร่ 20 ไร่ หรือมากกว่า 18.42 23.94 24.91 22.73 ที่มา: ผาสุก พงษ่ไพจิตร งานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11

ผู้ถือครองที่ดินมากที่สุด จังหวัด อันดับแรก (ไร่) 50 ลำดับแรก เป็น % ของพื้นที่ทั้งหมด กรุงเทพมหานคร 14,776 10.1 ภูเก็ต 3,152 14.2 ปทุมธานี 28,999 12.4 สมุทรปราการ 17,016 11.7 นนทบุรี 6,691 7.7 ระนอง 4,618 6.2 นครนายก 34,352 5.3 อ่างทอง 3,347 4.7 ที่มา: ผาสุก พงษ่ไพจิตร งานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11

ความต่างด้านรายได้ระหว่างจนสุด 20% และรวยสุด 20% ประเทศ ร้อยละ ญี่ปุ่น นอรเวย์ สวีเดน เกาหลีใต้ 3.4 3.9 4.0 4.2 ฝรั่งเศส อิตาลี อังกฤษ สหรัฐอเมริกา 5.6 6.5 7.2 8.4 จีน ไทย (2007) 12.2 13.0 เวเนซูเอลา อาร์เจนตินา บราซิล 16.0 17.8 21.8 ความต่างด้านรายได้ระหว่างจนสุด 20% และรวยสุด 20% ที่มา: ผาสุก พงษ่ไพจิตร งานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11

ที่มา: ผาสุก พงษ่ไพจิตร งานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11 Gini Thailand Malaysia Philippines Indonesia 1960 2000 Year ที่มา: ผาสุก พงษ่ไพจิตร งานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11

ความพยายามในการปฏิรูปการเมือง II. ปัญหาของระบอบการเมืองไทย และ ความพยายามในการปฏิรูปการเมือง เมื่อระบบการเมือง (ระบบตัดสินใจแทนสังคม) มีปัญหา ก็ต้องปฏิรูปการเมือง โดยจัดทำรัฐธรรมนูญ 2540 เพื่อ 1. ทำให้ “การเมืองของนักการเมือง”เป็น “การเมืองของพลเมือง” 2. ทำให้การเมือง “สุจริต” และ “โปร่งใส” 3. ทำให้การเมือง “มีเสถียรภาพ” และ “ประสิทธิภาพ”

ใช้รัฐธรรมนูญมา 8 ปีเศษ มีการรัฐประหาร

เหตุผลที่แสดงออก : เหตุแห่งการรัฐประหาร 4 ประการ แต่เหตุผลแท้จริง คือ รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ขัดกับ รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม

จัตวานุภาพทางการเมืองไทย รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม สถาบันพระมหากษัตริย์ ข้าราชการ ทหาร / พลเรือน คนชั้นกลาง/นักธุรกิจในเมือง ประชาชนส่วนใหญ่ในชนบท รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร พรรคการเมือง / นักการเมือง

อ.นิธิ วัฒนธรรมทางการเมืองนี่แหละที่เป็นข้อกำหนดสูงสุดจริงในเรื่องสัมพันธภาพทางอำนาจ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมทางการเมืองคือรัฐธรรมนูญที่แท้จริงของรัฐ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ฉีกไม่ออกไม่ว่าจะใช้หุ้มเกราะสักกี่คันก็ไม่สามารถฉีกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ และกฎหมายอื่น กฎกระทรวง หรือระเบียบอะไรก็ไม่อาจล่วงละเมิดข้อกำหนดที่มี ใน วัฒนธรรมทางการเมือง หรือรัฐธรรมนูญฉบับแท้จริงนี้ได้.......... รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรมนี้ “ร่าง” ขึ้นไม่ได้ แต่ต้องใช้ประสบการณ์อันยาวนานเป็นศตวรรษของสังคมก่อให้เกิดขึ้น

1. สถาบันพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ ขุนนางในอดีต การเปลี่ยนแปลงการปกครอง กับการทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสัญลักษณ์ พระมหากษัตริย์ในฐานะ “เสาหลัก” ของประเทศ - ศูนย์รวมใจของไทยทั้งชาติ - ความต่อเนื่องของระบบการปกครอง - supreme arbitrator - พระมหากษัตริย์ในฐานะ “สถาบัน”

2.ประชาชนส่วนใหญ่ในชนบท ลักษณะคนจนส่วนใหญ่ - เข้าไม่ถึงทรัพยากร - ไม่มีอำนาจต่อรองในระบอบเศรษฐกิจแบบตลาด - ความสัมพันธ์แบบจารีตในระบบอุปถัมภ์

1.ความสัมพันธ์แบบจารีตในระบบอุปถัมภ์ (clientalism) - การแลกเปลี่ยนสินค้า / บริการในลักษณะที่ไม่เท่าเทียมกัน - พันธะทางศีลธรรม ให้ – ตอบแทน อุปถัมภ์ ผู้มีอิทธิพล ประชาชนในชนบท ตอบแทน ส.ส./ รมต.

 คนชนบท “ตั้งรัฐบาล” และเป็น “ฐานเสียง” - ความไม่เสมอภาค - ความสัมพันธ์ส่วนตัว เกรงใจ ตอบแทน - กฎหมายศักดิ์สิทธิ์เฉพาะคนนอกระบบอุปถัมภ์  คนชนบท “ตั้งรัฐบาล” และเป็น “ฐานเสียง”

คนชั้นกลาง “เสียงดัง” จึงเป็น “ฐานนโยบาย” 3. คนชั้นกลางในเมือง ลักษณะคนชั้นกลาง - เข้าถึงทรัพยากร - มีอำนาจต่อรองในระบบเศรษฐกิจแบบตลาด - ความสัมพันธ์แบบพันธะสัญญา คนชั้นกลาง “เสียงดัง” จึงเป็น “ฐานนโยบาย”

4. ความสัมพันธ์แบบพันธะสัญญา (contractualism) - อิสรภาพ - เสมอภาค เท่าเทียม - เสรีภาพ และความสามารถต่อรองในระบบตลาด ได้มาจากการต่อสู้กับผู้ปกครอง

คนชั้นกลางไทยจึงเลือกความสัมพันธ์ทางพันธะสัญญา + ทางจารีต คนชั้นกลางไทยอยู่ใต้อุปถัมภ์รัฐไทย + ไม่ได้ต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพ แต่มาจากแรงกดดันจากตะวันตก คนชั้นกลางไทยจึงเลือกความสัมพันธ์ทางพันธะสัญญา + ทางจารีต เกิดสภาวะที่เกษียร เตชะพีระ เรียกว่า “ กึ่งอุปถัมภ์ กึ่งตลาด”

ทุกอย่างแลกเปลี่ยนซื้อได้ – ขายได้ แม้ความจงรักภักดี เลือกใช้วิธีการอุปถัมภ์ / พันธะสัญญา สุดแต่ว่าอะไรให้ประโยชน์มากกว่า การเลือกตั้งใช้การอุปถัมภ์ ให้สัมปทาน อนุมัติ แบบซื้อขายในระบบตลาด ใช้วิถีเอกชนในการบริหาร / ควบรวมพรรค ใช้ทั้งตลาด / อุปถัมภ์กับองค์กรอิสระ

“ประชาธิปไตยในรูปแบบ vs ประชาธิปไตยในเนื้อหา” - ประชาธิปไตยถูกใช้เพื่อช่วงชิงอำนาจการเมือง เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ขาดหลักการเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่พร้อมทั้งที่จะละทิ้งประชาธิปไตย ถ้าผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจถูกกระทบ “ประชาธิปไตยในรูปแบบ vs ประชาธิปไตยในเนื้อหา” “ประชาธิปไตยเป็นเพียงวิธีการ (Means) ไม่ใช่เป้าหมาย (ends)

องค์กรตรวจสอบ ตอบแทน ช่วยอุปถัมภ์ นักการเมือง ข้าราชการ ประชาชนชนบท นักธุรกิจ คนชั้นกลาง

คนชั้นกลางจึง “ล้มรัฐบาล” อีกครั้งตามทฤษฎี “สองนัคราประชาธิปไตย” เดิมคนชั้นกลางมีส่วนในระบอบการเมือง โดยได้รับ แต่งตั้งเป็นวุฒิสภา รัฐธรรมนูญ 2540 กีดกัน คนชั้นกลางออกจากวุฒิสภา “ฐานนโยบาย” สิ้นความเป็น “ฐานนโยบาย” การปิดกั้นการแสดงออกของชั้นกลาง คนชั้นกลางจึง “ล้มรัฐบาล” อีกครั้งตามทฤษฎี “สองนัคราประชาธิปไตย”

4. ข้าราชการทหาร และพลเรือน “อำนาจการเมือง” (political power) กับ “อำนาจรัฐ” (state power) จาก “การแข่งอำนาจกับพระมหากษัตริย์” สู่ “การแข่งอำนาจกับพรรคการเมืองและนักการเมือง” การถูกกีดกันออกจากระบอบการเมือง และ การตกอยู่ใต้อำนาจการเมือง

การปฏิรูปรัฐไทย ระบบราชการไทย : ผลจากแรงกดดันภายนอก/ภายใน การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ-สังคม ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สนธิสัญญาเบาริ่ง และการปฏิรูปสยามในรัชสมัย ร.5 สงครามเย็น และการปรับระบบเศรษฐกิจ ความมั่นคง

การปฏิรูประบบราชการไทย ในปี 2545 - ปฏิรูปโครงสร้าง 20 กระทรวง 147 กรม - ปฏิรูประบบราชการการปฏิบัติราชการ : มาตรา 3/1 การสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้

“มาตรา ๓/๑ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจ แห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อ ผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตาม ความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการ และข้าราชการปฏิบัติก็ได้”

ปี ๒๕๔๕ : การปฏิรูประบบราชการและการหยั่งรากของธรรมาภิบาล ปี ๒๕๔๕ : การปฏิรูประบบราชการและการหยั่งรากของธรรมาภิบาล การออกกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน / กฎหมาย ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม ปี ๒๕๔๕ เป็นการขยายหลักธรรมาภิบาลลงไป โดยเฉพาะการตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งมีผลใช้บังคับ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๖

มีหลักการสำคัญ ๗ ประการ คือ มีหลักการสำคัญ ๗ ประการ คือ (๑) การบริหารราชการให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (๒) การบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อภารกิจแห่งรัฐ (๓) การบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพและคุ้มค่าเชิง ภารกิจแห่งรัฐ (๔) การลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น (๕) การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (๖) การอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการ ของประชาชน (๗) การประเมินผล

๑๑. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน เป้าหมาย : ผาสุก / อยู่ดีกินดี ความสงบ ปลอดภัย ซื่อสัตย์ สุจริต ตรวจสอบได้ กลไก : - การวิเคราะห์ผลดี/ผลเสียโครงการ ถ้ากระทบ ประชาชนต้องรับฟังความคิดเห็นหรือชี้แจง - สำรวจความพึงพอใจประชาชน

การบริหารเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (result base management) ๒.๑ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ครม. ๔ ปี ตามแนวนโยบาย พื้นฐาน/นโยบาย ครม. ต้องมี - เป้าหมาย/ผลสัมฤทธิ์ - ผู้รับผิดชอบ - งบประมาณที่ต้องใช้ - ระยะเวลา - การประเมินผล

๒.๒ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ๔ ปี และรายปี - ไม่มีแผน, ไม่มีเงิน ๒.๒ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ๔ ปี และรายปี - ไม่มีแผน, ไม่มีเงิน ๒.๓ แผนปฏิบัติของ cluster ๑ กรม ทำ “คำรับรอง การปฏิบัติราชการ” นรม. – รมต. – ปลัด – อธิบดี ๒.๔ กำหนดให้เป็น learning Org. ๒.๕ แผนนิติบัญญัติ : กฎหมายใหม่และการแก้ไขกฎหมาย ต้องให้สอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน

๓. การบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ๓. การบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ๓.๑ เปิดเผยแผนงาน เวลา ๓.๒ จัดทำบัญชีต้นทุน ๓.๓ ทบทวนภารกิจของรัฐว่า ยุบ / ทำต่อ โดยดูความคุ้มค่า ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ๓.๔ การจัดซื้อจัดจ้าง ดูผลดีผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ ราคา ไม่จำต้องซื้อต่ำสุด ๓.๕ ขอความเห็นชอบ ๑๕ วัน ๓.๖ ก.ก. ม.๒๕ ๓.๗ ลายลักษณ์อักษร

๔. ลดขั้นตอน ๕. ภารกิจ ๔.๑ กระจายอำนาจตัดสินใจ ๔.๒ ทำแผนภูมิ เวลา ๔. ลดขั้นตอน ๔.๑ กระจายอำนาจตัดสินใจ ๔.๒ ทำแผนภูมิ เวลา ๔.๓ ศูนย์บริการร่วม ๕. ภารกิจ ๕.๑ ดูความจำเป็นของการมีส่วนราชการ ๕.๒ ทบทวนกฎหมาย/ระเบียบ  

การปฏิรูประบบรัฐ : การจัดสรรผลประโยชน์ใหม่ และการจัดสรรอำนาจ

ข้าราชการทหาร/พลเรือน คนมั่งมี/ชนชั้นกลาง เป็นประโยชน์ วุฒิสภา ขัดแย้ง ขัดแย้ง การจัดสรรทรัพยากรและผลประโยชน์แบบเลือกข้าง รัฐบาล สภาผู้แทนราษฎร เป็นโทษ คนจนส่วนใหญ่ พรรคการเมือง ประชานิยม

การเข้าถึง market/non market mechanism การจัดสรรทรัพยากร และผลประโยชน์ใหม่ การปรับระบบภาษีอากร การลดการกระจุกตัวของทุน ความขัดแย้ง มีรากฐานมาจาก โครงสร้างการ จัดสรรทรัพยากร ปรับภารกิจ/ deregulate/ถ่ายโอน การปรับระบบบริหารรัฐ การปรับทุนขนาดใหญ่/การเมือง/สื่อมวลชน การปรับโครงสร้าง/กระบวนการทางการเมือง และการบริหาร ทำให้ “ประชานิยม” ตามนโยบายเป็น “โครงสร้างใหม่” โดยการบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย

กระบวนการหา ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การจัดสรรผลประโยชน์/ ทรัพยากรใหม่ระดับรัฐ /ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การปรับระบบบริหาร ภาครัฐและความสัมพันธ์ ใหม่ในสังคม กำหนด การหา/ สร้างกระบวนทัศน์ ร่วมใหม่ในสังคม (new shared paradigm) กระบวนการหา ตอบสนอง กระบวนการสร้าง

ต้องเลิกโดยสิ้นเชิง (deregulation) ยุทธศาสตร์ที่ 2: การปรับปรุงระบบริหารภาครัฐและความสัมพันธ์ใหม่ในสังคม ภารกิจที่ต้องการความเป็นกลางทางการเมืองอย่างเคร่งครัด องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ ภารกิจที่ ต้องเลิกโดยสิ้นเชิง (deregulation) รัฐ ภารกิจที่จำเป็นของรัฐ (state function) ระบบราชการพลเรือน / ทหาร รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน (ความสัมพันธ์ระหว่างการเมือง / ฝ่ายประจำ) ภารกิจที่ต้องการอาณัติทางการเมืองจาก ประชาชน ภารกิจที่ต้องโอนจากรัฐไปให้หน่วยอื่น องค์กรเอกชน - ภารกิจที่เป็นประโยชน์ร่วมกันที่ เอกชนร่วมกันทำ ร่วมตรวจสอบได้ ประชาสังคมที่ไม่มุ่งกำไร - การตรวจสอยควบคุมบางประการ ชุมชนท้องถิ่น - ดูแลรักษาทรัพยากรบางประเภท เช่น ป่า , ที่สาธารณะประโยชน์ที่ใช้ร่วมกัน องค์กรปกครองท้องถิ่น - การให้สาธารณูปการทั้งหลาย

โครงสร้าง และการบริหารภาครัฐ โครงสร้าง และการบริหารภาครัฐ ลักษณะเฉพาะ สังคมไทย กระแสโลก โครงสร้างทางการเมือง โครงสร้าง /กระบวนการฝ่ายประจำทางพลเรือน ทหาร ความเป็นพลเมือง / การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหาร

โครงสร้างทางการเมืองและการตรวจสอบ - ความเป็นอิสระที่เพิ่มขึ้น พระมหากษัตริย์ สภาผู้แทนราษฎร ประชาชนทั้งประเทศ ระบบเลือกตั้ง การลดอิทธิพลหัวคะแนน การลดอิทธิพลของเงิน รัฐบาล นรม. รมต. ผู้สมัครรับเลือกตั้ง -การไม่บังคับให้สังกัดพรรค /การอุดหนุนพรรค - การเงินของพรรค / ผู้สมัคร การห้าม ส.ส.เป็น รมต. การสร้างเสถียรภาพให้รัฐบาล การถอดถอนโดยประชาชน วุฒิสภา -สภากลั่นกรอง สภาตรวจสอบ ภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคม แต่งตั้ง สรรหา สรรหา / เลือกตั้ง ศาล องค์กรอิสระ - ความเป็นอิสระที่เพิ่มขึ้น / การตรวจสอบได้

สวัสดี