Tonsillits Pharynngitis

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
Tuberculosis วัณโรค.
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ทำอย่างไรเมื่อมีอาการไอ จาม เจ็บคอ มีน้ำมูก สวมหน้ากากทันที กรณีไอ จาม ใช้กระดาษทิชชูรองรับ และทิ้งในที่มิดชิด ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือเจลล้าง มือ.
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Nipah virus.
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
แพทย์แนะกินสมุนไพรไทย 8 ชนิด สู้ไข้หวัด รับหน้าหนาว
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Tonsillits Pharynngitis ต่อมทอนซิลอักเสบ การรักษา 1.แนะนำให้ผู้ป่วยพักผ่อน ดื่มน้ำมากๆ และใช้ผ้า ชุบน้ำเช็ดตัวเวลามีไข้สูง ควรให้ผู้ป่วยกินอาหาร อ่อนและดื่มน้ำหวานบ่อยๆ ควรกลั้วคอด้วยน้ำ เกลือ ( ผสมเกลือป่นประมาณ ½ ช้อนโต๊ะ ใน น้ำอุ่น 1 แก้ว ) วันละ 2 – 3 ครั้ง 2.ให้ยาลดไข้เด็กเล็กที่เคยชัก ให้ยากันชักร่วมด้วย 3.ในรายที่ต่อมทอลซิลอักสบจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่ง ต่อมทอลซิลมักจะมีลักษณะสีแดงจัดหรือจุดแดง หรือมีต่อมน้ำเหลืองที่ใต้คางบวม และเจ็บให้ รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ 4.ถ้าอาการไม่ดีขึ้นใน 3 วัน หรือกินยาไม่ได้ หรือ สงสัยมีโรคแทรกซ้อนรุนแรง ให้แนะนำผู้ป่วยไป โรงพยาบาล 5.ในรายที่เป็นเรื้อรัง ควรนำไปโรงพยาบาล อาจ ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดต่อมทอลซิล ถ้าเกินปี ละหลาย ครั้ง (มากกว่า 4 ครั้งขึ้นไป) จนเสีย งานหรือหยุดเรียนบ่อยหรือมีอาการอักเสบของหู บ่อยๆ นอกจากนี้ในราบทีเป็นฝีทอลซิลแทรกซ้อน อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัดทอลซิล เพราะถ้า ทิ้ง เอาไว้ก็อาจมีการอักเสบเรื้อรังได้ การผ่าตัด ทอลซิลมักจะทำในช่วงอายุ 6 – 7 ปี ขอแนะนำ 1.โรคนี้พบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ เด็กบางคนอาจเป็นได้บ่อย แต่เมื่อโตขึ้น ร่างกายมีภูมิต้านทานดีขึ้น ก็อาจค่อยๆ เป็น ห่างขึ้นได้ 2.อาการเจ็บคอ อาจมีสาเหตุได้หลายประการ ไม่จำเป็นต้อง เป็นต่อมทอลซิลอักเสบเสมอไป การรักษาอย่างผิดๆ หรือกินยาไม่ครบขนาด เช่น ซื้อยา ชุดกินเอง ถึงแม้ว่าจะช่วยให้อาการทุเลา แต่ก็มีโอกาสเกิด โรคแทรกซ้อนดังกล่าวได้ Tonsillits Pharynngitis การป้องกัน ปฏิบัติเช่นเดียวกับไข้หวัด และหมั่นรักษาสุขภาพฟัน และช่องปาก เมื่อสงสัยต่อมทอลซิลอักเสบจากเชื้อ แบคทีเรีย ควรให้ทานยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 10 วัน ด้วยความปารถนาให้ท่านมีสุขภาพดี จาก โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โทร. (055) 411064 นฤมล : พิมพ์/ออกแบบ งานเวชนิทัศน์และโสตทัศนศึกษา โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โทร. (055) 411064 ต่อ 462,454 F/ข้อมูลรวมโรค/สุขศึกษา/เวชนิทัศน์

อาการ ต่อมทอนซิลอักเสบ อาการแทรกซ้อน สาเหตุ ในรายที่เป็นเฉียบพลัน จะมีไข้สูงเกิดขึ้นทันทีทันใด และ มีอาการปวดศรีษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ครั่นเนื้อครั่นตัว หรือหนาวสั่นสะท้าน รู้สึกแห้งผากในลำคอ หรือเจ็บในคอ มากบางคนอาจเจ็บคอมากจนกลืนน้ำลายและอาหารลำบาก ในเด็กเล็กอาจมีอาการอาเจียน ไอ ปวดท้อง หรือท้อง เดินร่วมกัน เด็กบางคนอาจมีไข้สูงจนชัก หรือร้องกวนไม่ ยอมนอน บางครั้งอาจสังเกตเห็นมีก้อนบวมและเจ็บ ( ก้อนลูกหนู หรือต่อมน้ำเหลืองอักเสบ) บริเวณใต้ข้างใด ข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง ในรายที่เป็นเรื้อรัง จะมีอากรเจ็บคอบ่อยๆ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ไอแห้งๆ หรือมีเสมหะเล็กน้อย มักไม่มีไข้หรือ บางครั้งอาจมีไข้ต่ำๆ การอักเสบภายในลำคอและต่อมทอนซิล มีสาเหตุ จากการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย ทำให้มีไข้สูงและ เจ็บคออักเสบที่เกิดจากไวรัส ที่พบบ่อยเช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ พวกนี้มักจะมีน้ำมูกใสๆ ต่อมทอนซิล ไม่แดงมากและไม่มีหนอง เมื่อพูดถึงต่อมทอนซิลอักเสบ เรามักจะหมายถึง การอักเสบจากแบคทีเรียซึ่งอาจทำให้มีโรคแทรกซ้อน ที่รุนแรงได้ โรคนี้พบบ่อยในกลุ่มเด็กวัยเรียนและพบ ได้เป็นครั้งคราวในผู้ใหญ่ ต่อมทอนซิลอักเสบ อาการแทรกซ้อน 1. เชื้ออาจลุกลามไปยังบริเวณใกล้เคียงทำให้หูชั้นกลาง อักเสบต่อมน้ำเหลืองที่คออักเสบ, จมูกอักเสบ , ไซนัส อักเสบ, ฝีของทอลซิล, ปอดอักเสบ 2. เชื้ออาจแพร่กระจายเข้ากระแสเลือด ทำให้เป็นข้อ อักเสบเฉียบพลัน กระดูกอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ 3. โรคแทรกที่สำคัญคือ ไข้รูมาติก และกรวยไตอักเสบ ซึ่งมักจะเกิดหลัง ต่อมทอลซิลอักเสบ 1 – 4 สัปดาห์ สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย ซึ่งมีอยู่ หลายชนิด ติดต่อโดยการหายใจ ไอ หรือจามรดกัน (เช่นเดียวกับไข้หวัด) ระยะฟักตัวประมาณ 1–5 วัน