Electronic Circuits Design

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Combination Logic Circuits
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
อัตราสวูล์กับแบนด์วิทธ์เต็มกำลัง
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Biomedical Electronics Biomedical Amplifiers
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ว ความหนืด (Viscosity)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
CHAPTER 11 Two-port Networks
Second-Order Circuits
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Basic Programming for AVR Microcontroller
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ไดแอก ( DIAC ) .
เจเฟต Junction Field-effect transistor
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Electronic Circuits Design
Operational Amplifier
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Electronic Circuits Design Pinit Nuangpirom RMUTL

Basic of OP-AMP Operational Amplifiers

Basic of OP-AMP

Idea OP-AMP Av เป็นอัตราการขยายแรงดันซึ่งมีค่าสูงมาก จึงเป็นคุณสมบัติที่พิเศษสุดของออปแอมป์ ออปแอมป์แบบอุดมคติ จะมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขดังนี้ 1. อัตราการขยายแรงดัน สูงมากจนเป็นอนันต์ 2. ความต้านทานทางอินพุต สูงมากจนเป็นอนันต์ 3. ความต้านทานทางเอาท์พุท ต่ำมากจนเป็นศูนย์ 4. แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 5. กระแสออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 6. ลักษณะสมบัติเชิงความถี่ ขยายได้ดีตั้งแต่ไฟตรง จนความถี่สูงมากเป็นอนันต์

Basic of OP-AMP

Basic of OP-AMP

Basic of OP-AMP ความต้านทานอินพุต

Basic of OP-AMP ความต้านทานเอาต์พุต

Basic of OP-AMP ความต้านทานเอาต์พุต

Basic of OP-AMP แรงดันออฟเซททางอินพุท แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นเรื่องสำคัญมากเรื่องหนึ่ง เมื่อเราศึกษาเรื่องออปแอมป์ แรงดันออปเซททางอินพุทหมายถึง แรงดันขนาดเล็กที่ปรากฏระหว่างอินพุทบวกลบ ของออปแอมป์ในขณะที่แรงดันอินพุทเป็นศูนย์

Basic of OP-AMP กระแสไบแอสทางอินพุท กระแสไบแอสทางอินพุท หมายถึง กระแสที่ไหลเข้าหรือออกจากขั้วบวกหรือลบ ของอินพุทของออปแอมป์ไม่เกี่ยวข้องกับความต้านทานทางอินพุทของออปแอมป์ ปกติกระแสไบแอสทางอินพุท จะมีองค์ประกอบไฟตรงเป็นหลักในขณะที่ความต้านทาน ทางอินพุท จะมีองค์ประกอบทางไฟสลับเป็นหลัก

Basic of OP-AMP กระแสออฟเซททางอินพุท ตามปกติกระแสไบแอสที่ไหลเข้าขั้วบวกและลบของออปแอมป์จะไม่เท่ากันทีเดียวนัก ความแตกต่างของกระแสทั้งสองนี้ เรียกว่ากระแสออฟเซททางอินพุทของออปแอมป์ ยกตัวอย่างเช่น กระแสไบแอสที่ไหลเข้าทางขั้วบวกเป็น 110 microA และที่ขั้วลบเป็น 90 microA เราจะเขียนว่ากระแสไบแอสเท่ากับ 100 microA และกระแสออฟเซททาง อินพุทเท่ากับ 20 microA เป็นต้น

Basic of OP-AMP กระแสออฟเซททางอินพุท

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท สลูว์เรท (Slew rate) สลูว์เรท หมายถึง ความสามารถในการให้เอาท์พุท เพื่อไล่ให้ทัน การเปลี่ยนแปลงทางอินพุท ที่ป้อนเข้ามา ถ้าป้อนแรงดันรูปคลื่นสี่เหลี่ยมซึ่งมีแอมปลิจูด ใหญ่ให้กับออปแอมป์ แล้ววัดดูความเร็วในการขึ้นลงของรูปคลื่นทางเอาท์พุทจะได้ เป็นค่าสลูว์เรทออกมา ตัวอย่างเช่นเอาท์พุทให้แรงดันที่เปลี่ยนแปลงไป 10 V ในเวลา 0.1 mS แสดงว่ามีสลูว์เรท เท่ากับ 10 / 0.1 microS = 100V / microS คลื่นสามเหลี่ยมความถี่ 1Hz ขนาด 1 Vpp จะมีสลูว์เรทเท่ากับ 0.5 V / 0.25 microS หรือ 2 V / Sec แต่ถ้าขนาดเพิ่มเป็น 10 Vpp ค่าสลูว์เรทจะเป็น 5 V / 0.25 Sec หรือ 20 V / Sec นั่นเอง ซึ่งจะเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าตัว อัตราการเปลี่ยนแรงดันนี้เราเรียกว่า สลูว์เรท

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท สลูว์เรท (Slew rate) สลูว์เรท หมายถึง ความสามารถในการให้เอาท์พุท เพื่อไล่ให้ทัน การเปลี่ยนแปลงทางอินพุท ที่ป้อนเข้ามา ถ้าป้อนแรงดันรูปคลื่นสี่เหลี่ยมซึ่งมีแอมปลิจูด ใหญ่ให้กับออปแอมป์ แล้ววัดดูความเร็วในการขึ้นลงของรูปคลื่นทางเอาท์พุทจะได้ เป็นค่าสลูว์เรทออกมา

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสลูว์เรท คือ การที่จะให้รูปคลื่นที่สมบูรณ์มี ขนาดใหญ่ได้เท่าใด ในขณะที่ ความถี่สูงขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับผลตอบสนองทางความถี่เลย

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสลูว์เรท คือ การที่จะให้รูปคลื่นที่สมบูรณ์มี ขนาดใหญ่ได้เท่าใด ในขณะที่ ความถี่สูงขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับผลตอบสนองทางความถี่เลย ผลิตสัญญาณรูปซายน์ความถี่ 1 MHz ขนาด 20 Vp-p ได้นั้น ออปแอมป์จะต้อง มีสลูว์เรทถึง 62.8 V / microS

Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ออปแอมป์เบอร์ LM741 ที่นิยมใช้กันนั้น มีสลูว์เรทเพียง 0.5 V / microS ถ้าจะนำมาผลิตรูปคลื่นซายน์ที่มีขนาด 20 Vp-p ก็คงจะได้ความถี่เพียงประมาณ 10 KHz เท่านั้นเอง แต่ถ้าใช้ LM741 เป็นบัฟเฟอร์ที่มีอัตราขยายเพียง 1 เท่า และพยายามผลิตสัญญาณให้ได้ 1 MHz ก็จะได้ขนาดสัญญาณเพียง 0.1 V เท่านั้น

OP-AMP Operational Amplifiers

Introduction

Introduction

OP-AMP

OP-AMP

OP-AMP

OP-AMP

OP-AMP

OP-AMP

OP-AMP

OP-AMP

Example 1

Practice 1

Idea Op-amp

Idea Op-amp

Example 2

Practice 2

Inverting Amplifier

Inverting Amplifier

Inverting Amplifier

Inverting Amplifier

Inverting Amplifier

Noninverting Amplifier

Noninverting Amplifier

Noninverting Amplifier

Noninverting Amplifier

Noninverting Amplifier

Summing Amplifier

Summing Amplifier

Summing Amplifier

Diference Amplifier

Diference Amplifier

Diference Amplifier

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit

Cascade Opamp Circuit