โรคเบาหวาน ภ
โรคเบาหวานคืออะไร?? ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน (ข้าว, แป้ง) โปรตีนและไขมัน
สิ่งที่ตรวจพบเมื่อเป็นเบาหวาน เบาหวานชนิดที่ 1 มักพบในคนที่ มีรูปร่างซูบผอม ไม่มีไขมัน กล้ามเนื้อลีบฝ่อ เบาหวานชนิดที่ 2 อาจมีรูปร่างอ้วน บางรายตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติตามร่างกาย การตรวจปัสสาวะมักจะพบน้ำตาลในปัสสาวะขนาดมากกว่าหนึ่งบวกขึ้นไป การตรวจน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร 6 ชั่วโมง (fasting plasma glucose/FPG) มักพบว่า มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 126 มิลลิกรัม ต่อเลือด 100 มิลลิลิตร
โรคเบาหวานมี 2 ชนิด คือ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus) ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ส่วนใหญ่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกหลังจากมีอาการของภาวะน้ำตาลสูงเกิดในเลือดมาด้วยน้ำตาลในเลือดสูง
ผู้ป่วยมัก มีอาการหอบลึก คลื่นไส้อาเจียนและปวดท้อง ซึมลงได้ สาเหตุ: เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันไปทำลายเซลล์ของตับ จนทำให้ความสามารถในการสร้างอินสุลินเพื่อลดน้ำตาลในเลือดลดลง ผู้ป่วยจะมีลักษณะที่สำคัญคือ อายุน้อย และรูปร่างผอม ผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องใช้ยาอินสุลินฉีดเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus) เป็นผลจากพยาธิ ปัจจัยที่สำคัญ 2 ประการ ร่วมกัน ได้แก่ ภาวะดื้ออินสุลิน และภาวะขาดอินสุลินสัมพัทธ์ ซึ่งหมายถึง ความบกพร่องในการหลั่งอินสุลินเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยภาวะดื้ออินสุลิน โดยที่ผู้ป่วยอาจมีภาวะใดภาวะหนึ่งเด่นกว่าอีกภาวะหนึ่งก็ได้
มักพบในผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป และเป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานทั้งหมด “พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย” ลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ ผู้ป่วยมักอ้วน หรือถ้าไม่อ้วนก็มักมีไขมันที่ท้องมาก เบาหวานประเภทนี้รักษาได้ด้วยการรับประทานยา
อาการของโรคเบาหวาน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 จะมีอาการเป็นอย่างช้าๆโดยที่ผู้ป่วยอาจจะไม่ได้สังเกตุ อาการที่พบได้บ่อย คือ น้ำหนักลด หิวเก่งรับประทานอาหารเก่ง ดื่มน้ำเก่ง ปัสสาวะบ่อยทั้งกลางวันและกลางคืน
อาการของโรคเบาหวาน (ต่อ) ส่วนโรคเบาหวานชนิดที่ 1 อาการค่อนข้างจะเฉียบพลันอาการทำนำผู้ป่วยมาพบแพทย์ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย น้ำหนักลด
โรคแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังซึ่งจะมีการเปลี่ยน แปลงที่ผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดแข็ง หรือตีบหากหลอดเลือดแข็งหรือตีบที่อวัยวะ ส่วนไหนก็จะทำให้เกิดโรคที่อวัยวะนั้น
โรคแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน (ต่อ) ดังนั้นโรคเบาหวาจะมีโรคแทรกซ้อน ทุกระบบ ได้แก่ -ระบบประสาท -ตา -ไต -หัวใจและหลอดเลือด -ผิวหนัง -ช่องปาก
ผู้ที่มีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน พบมากในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป คนที่อยู่ในเมืองมีโอกาสเป็น เบาหวาน มากกว่าคนในชนบท คนอ้วนที่น้ำหนักเกิน โดยดูจากดัชนีมวลกาย ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย และหญิงที่มีลูกดกโดยเฉพาะ ผู้มีประวัติคลอดบุตรมีน้ำหนักแรกคลอด มากกว่า4กิโลกรัม
1. ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ วิธีการป้องกันโรคเบาหวาน 1. ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.ควบคุมโภชนาการ ให้มีความสมดุลทั้งในด้าน โภชนาการ การออกกำลังกายรวมไปจนถึงการใช้ยา รักษาโรค 3.ควรตรวจเช็คระดับน้ำตาลในเลือดสม่ำเสมอ 4.ยาบางชนิดหรือยาสมุนไพร อาจมีผลต่อการ ควบคุมน้ำตาลในเลือดจะต้อง “ปรึกษาแพทย์และเภสัชกรก่อนใช้ยา”
การบริโภคอาหารเมื่อเป็นเบาหวาน 1. เลือกบริโภคอาหารให้ครบ 5 หมู่ 2.ผู้ที่มีน้ำหนักตัวมากควรจะต้องลดปริมาณการรับประทานลง 3.รับประทานอาหารที่มีกากใยมากเพื่อช่วยในการขับถ่าย 4.หลีกเลี่ยงการรับประทานจุกจิกและรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา 5.พยายามรับประทานอาหารในปริมาณที่สม่ำเสมอกันในทุกมื้อ 6.หากมีอาการเกี่ยวกับโรคไต ความดันโลหิตสูง ให้หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม 7. แม้ระดับน้ำตาลในเลือดจะปรกติ แต่ควรจะต้องควบคุมอาหารตลอดไป
น้ำตาลทุกชนิด รวมไปถึงน้ำผึ้ง ผลไม้กวนประเภทต่างๆ อาหารที่ห้ามรับประทานเมื่อเป็น เบาหวาน diabetes น้ำตาลทุกชนิด รวมไปถึงน้ำผึ้ง ผลไม้กวนประเภทต่างๆ ขนมเชื่อม ขนมหวานต่างๆ ผลไม้ที่มีรสหวานมากๆ น้ำหวานประเภทต่างๆ ขนมทอดกรอบหรือชุบแป้งทอด
The end.