ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
Protein.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Protein.
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
การจัดระบบในร่างกาย.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
whey เวย์ : casein เคซีน
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
saidaonline.jpg.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
ผลไม้ลดความอ้วน.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
โรคหัวใจ.
แฟ้มสะสมผลงาน ด. ช. วรพจน์ แซ่ตั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 เลขที่ 8.
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25 เสนอโดย ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต ต. เขาสามสิบ อ. เขาฉกรรจ์ จ. สระแก้ว น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 2)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
Nutritional Biochemistry
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้ ไคโลไมครอน (Chylomicron) ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำมาก (Very love density lipoprotein : VLDL ) ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นปานกลาง (Intermediate density lipoprotine : IDL) ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำ (Low density lipoprotine : LDL) ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นสูง (High density lipoprotine : HDL )

ไคโลไมครอน (Chylomicron) จะสร้างที่ลำไส้เล็ก ทำหน้าที่ขนส่งอาหารไขมันที่รับประทาน แล้วนำโคเลสเตอรอลบางส่วนไปเก็บไว้ที่ตับ และนำไตรกลีเซอไรด์ไปไว้ที่เนื้อเยื่อไขมัน การมีระดับไคโลไมครอนสูง (Hyperchyromicronemia) เกิดจากการรับประทานอาหารไขมันสูง และระดับของไคโลไมครอนจะสูงภายใน 3-4 ชม. ภายหลังรับประทานอาหารไขมัน และจะหมดไปใน 12-14 ชม. ถ้าบุคคลใดรับประทานอาหารที่มีไขมันเกิดความสามารถของร่างกาบในการเผาผลาญไตรกลีเซอไรด์เป็นพลังงานให้หมด ร่างกายจะสะสมทำให้เกิดโรคอ้วน Back

ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำมาก (Very love density lipoprotein : VLDL ) เป็นการสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์จากเนื้อเยื่อไขมันที่เก็บสะสมไว้ โดยสังเคราะห์จากตับ แต่สามารถสังเคราะห์จากลำไส้เล็กได้ ทั้งนี้จะคล้ายกับไคโลไมครอนคือสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ และนำไตรกลีเซอไรด์ไปเผาผลาญเป็นพลังงาน Back

ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นปานกลาง (Intermediate density lipoprotine : IDL) เมื่อไตรกลีเซอไรด์ ใน VLDL และไคโลไมครอนนำไปใช้เป็นพลังงานแล้ว อนุภาคของ VLDL จะเล็กลงเรียกว่า IDL โดยมีสัดส่วนของไตรกลีเซอไรด์ และโคเลสเตอรอลใกล้เคียง ทั้งนี้ IDL จะเป็นสารตั้งต้น (Precursor) ของไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำ (Low density lipoprotine : LDL) Back

ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำ (Low density lipoprotine : LDL) ไตรกลีเซอไรด์ใน IDL นำไปใช้เป็นพลังงาน ทำให้อนุภาคของ IDL เล็กลง เรียกว่า LDL ซึ่งเป็นโคเลสเตอรอลมากกว่าไตรกลีเซอไรด์ และฟอสโฟไลพิด ทำหน้าที่ช่วยขนถ่ายโคเลสเตอรอล สองในสามของ IDL จะจับกับตัวรับ (LDL receptors) ที่เนื้อเยื่อส่วนปลาย (peripheral tissue) หรือที่ตับ เพื่อขับ LDL ออกจากระบบไหลเวียนถ้าจำนวนหรือหน้าที่ของตัวรับลดลง เช่น โคเลสเตอรอล กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid) หรือได้รับพลังงานสูงจำทำให้มีการคั่งของ LDL ทำให้โคเลสเตอรอลถูกสะสมไว้ที่ด้านในของผนังหลอดเลือด(arterial intima) ทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ดังนั้นการมี LDL สูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ Back

ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นสูง (High density lipoprotine : HDL ) เป็นไลโปโปรตีนที่เล็กที่สุด แต่มีความสำคัญที่สุด ถูกสร้างจากตับ ลำไส้เล็ก และแตกตัวจากไคโลไมครอนและ VLDL หลังจากไตรกลีเซอไรด์ถูกแยกออกไป HDL ยังมีหน้าที่สำคัญคือการขนส่งโคเลสเตอรอลจากผนังด้านในของหลอดเลือดแดงสู่ตับ ซึ่งทำให้มีบทบาทในการป้องกันการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็ง ไลโปโปรตีนที่ทำให้เกิดหลอดเลือดแข็งมากที่สุดได้แก่ LDL รองลงมาได้แก่ IDL และ VLDL แต่ HDL จะช่วยป้องกันภาวะหลอดเลือดแข็ง ดังนั้นถ้า LDL ; IDL หรือโคเลสเตอรอลสูงและมี HDL ต่ำจึงเป็นผลให้บุคคลมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ Back