โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Knowledge Management (KM)
ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
K M คือ Knowledge Management
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
หนังสือเล่มแรก Bookstart
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
Learning Organization & Knowledge Management
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) “คุณอำนวย” Knowledge Assets (KA) Knowledge Vision (KV) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” CKO

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครื่องมือKM การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต้องชัด ชัดในประเด็นที่อยากรู้ ชัดในประเด็นที่จะแลกเปลี่ยน ต้องต่าง เรื่องเดียวกันอาจจะมีประสบการณ์จากการทำงานที่แตกต่างกัน ต้องเจาะลึก เข้าใจบริบท วิธีคิด เทคนิค ความสัมพันธ์ของวิธีการกับผลลัพธ์

อุปสรรคการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ไม่ปรับ ไม่เรียน  ไม่เพียร ไม่ทำ  ไม่พูด ไม่คุย  ไม่เปิด ไม่รับ

การเล่าเรื่อง(Story Telling) เป้าหมายสำคัญที่สุดของการเล่าเรื่อง คือ ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ(คุณกิจตัวจริง) ปลดปล่อยความรู้ที่ซ่อนอยู่ในส่วนลึกของหัวใจ (ความเชื่อ), ในส่วนลึกของสมอง (ความคิด), และในส่วนลึกของร่างกาย (การปฏิบัติ) ออกมาเป็นคำพูด และหน้าตาท่าทาง (non-verbal communication) การเล่าเรื่องจะประสบความสำเร็จมากน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก ๓ ประการ คือ ผู้เล่า ผู้รับฟัง และบรรยากาศขณะเล่า

การเล่าเรื่อง (Story Telling) กำหนด “หัวปลา” ให้ชัด ซึ่งหมายถึง เป้าหมายของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำหนดให้สมาชิกกลุ่มไม่เกินกลุ่มละ 10 คน ... เพื่อให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง สร้างความรู้สึกเป็นอิสระได้ง่าย / เอื้อต่อการเล่าเรื่องอย่างพลัง สมาชิกกลุ่ม ควรประกอบด้วยคนที่มีความแตกต่างกัน /หลากหลาย เช่น ต่างหน่วยงาน ต่างสาขาวิชาชีพ ต่างตำแหน่ง ฯลฯ

เทคนิค/วิธีเรื่องเล่าที่ดี ไม่ตีความระหว่างเล่า เล่าเฉพาะเหตุการณ์และผลที่เกิดขึ้น บรรยากาศ ตัวละคร ความคิดของผู้เล่าในขณะเกิดเหตุการณ์ เล่าให้เห็นคน เล่าเหตุผลในขณะนั้นว่าทำไมผู้เล่าจึงตัดสินใจทำเช่นนั้น เล่าสั้นๆ หนึ่งเรื่องมีประเด็นเดียว สมาชิกอีกคนหนึ่งอาจขอเล่าเรื่องในประเด็นเดียวกัน แต่สะท้อนความรู้/วิธีการคนละแบบ

กระบวนการแปลงความรู้ Dialogue Tacit Knowledge Explicit Knowledge Tacit Socialization Externalization Internationalization Combination Linking Explicit K. Field Building Explicit Learning by Doing Nonaka & Takeuchi

สวัสดีค่ะ