โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เพราะความเป็นห่วง.
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
โรคเบาหวาน Diabetes.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
ผลไม้ รักษาโรคได้.
กำมะถัน (Sulfur).
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง Chronic obstructive pulmonary disease, COPD

โรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง เป็นโรคที่เกิดจากทางเดินระบบหายใจอุดกั้นร่วมกับอาการหลอดลมอักเสบเรื้อรัง การดำเนินการของโรคอาจเป็นไปอย่างช้าๆ ผู้ป่วยต้องใช้พลังงานในการหายใจมากกว่าคนปกติถึง 10 เท่า การเลือกชนิดและปริมาณของอาหารจะมีผลต่อการทำงานของปอด

หลักการให้โภชนบำบัดผู้ป่วยถุงลมโป่งพองเรื้อรัง 1.อาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น ซุปตุ๋นใส่นม หรือเนื้อสัตว์ 2.อาหารควรมีลักษณะที่ไม่ต้องเคี้ยวมากและกลืนง่าย ผู้ป่วยจะได้ไม่เหนื่อยกับการกิน 3.อาหารประเภทโปรตีนเลือก ปลา ไข่ นม เต้าหู้ (ต้มให้เปื่อย) 4. ผลไม้เลือกชนิดที่เคี้ยวง่าย นุ่มๆ สุกๆ 5.เลือกชนิดไขมันลดไขมันอิ่มตัว 6.จัดอาหารให้ปริมาณน้อยๆ แต่บ่อยขึ้น เช่น วันละ 6 มื้อ จะช่วยลดปริมาณก๊าซออกซิเจน ที่ร่างกายต้องการในการเคี้ยวอาหารและย่อย 7.เลี่ยงอาหารที่มีรสเค็ม โซเดียมน้อย เพื่อลดอาการบวม 8.กรณีผู้ป่วยมีอาการบวม ให้ดื่มน้ำ 6-8 แก้ว/วัน เพื่อลดเสมหะ

9. กระตุ้นให้ผู้ป่วยรับทานอาหารในช่วงที่มีอาการทุเลาลง งดเฉพาะมื้อเช้า กินคำเล็กๆ เคี้ยวช้าๆ ไม่อ้าปาก 10. ลดอาหารที่ทำให้ท้องอืด หรือก๊าซมาก 11. กรณีท้องผูก ให้ได้รับของเหลวในรูป น้ำผลไม้คั้น เช่น น้ำส้ม น้ำลูกพรุน 12. กรณีผู้ป่วยมีปัญหาด้านการกลืน หรือได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอให้ใช้อาหารทางการแพทย์ เพื่อช่วยเพิ่มน้ำหนัก 13. เพิ่มหรือดัดแปลงอาหารให้หลากหลายน่ากิน

สารอาหารที่เน้นเป็นพิเศษ 1.วิตามินเอ จำเป็นต่อการรักษาเซลล์เยื่อบุต่างๆ การขาดวิตามินเอ จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจ 2. วิตามินซี จำเป็นต่อการสร้างเนื้อเยื่อ และการขาด วิตามินซี อาจทำให้ผู้ป่วยติดเชื้อง่ายขึ้น เนื้อเยื่อถูกทำลายมากขึ้น 3. ซิลิเนี่ยม เช่น องุ่น บลูเบอรี่ 4. แมกนิเซียม เป้นเกลือแร่ที่จำเป็นต่อการทำงานของปอด และการทำงานของกล้ามเนื้อ ถ้าขาดจะทำให้กล้ามเนื้อระบบหายใจอ่อนแอลง แมกนิเซียม พบมากในธัญพืชไม่ขัดสี ผักใบเขียว ถั่วต่างๆ

สิ่งที่ควรระวัง 1. การกินอาหารมากเกินไปจะทำให้กดกระบังลม ทำให้หายใจไม่สะดวก 2. การกินอาหารที่ย่อยยาก, การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด ทำให้อาหารตกค้างนานมีผลต่อการหายใจ 3. หลีกเลี่ยงอาหารงดเค็ม จะทำให้บวมน้ำได้ง่าย 4. หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ เพราะจะมีฤทธิ์ไปยับยั้งยาบางชนิด