ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
8. ไฟฟ้า.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 4 Circuit Theorems
CHAPTER 10 AC Power Analysis
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ซิลิคอน คอนโทรล สวิตช์ (SCS)
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
ไดแอก ( DIAC ) .
เจเฟต Junction Field-effect transistor
เอสซีอาร์ SCR.
มอสเฟท MOSFET.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Electronics for Analytical Instrument
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
อิเล็กโทรนิกส์.
Engineering Electronics อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม กลุ่ม 4
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์ วงจรทริกเกอร์ วงจรกำเนิดสัญญาณฟันเลื่อย วงจรควบคุมเฟส วงจรหน่วงเวลา ส่วนประกอบของวงจรไบสเตบิล และวงจรควบคุมการจ่ายแรงดันหรือกระแส เป็นต้น UJT เป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานทั่วไป ทนกำลังไฟฟ้าต่ำ 

โครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที โครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที  UJT เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิด 2 รอยต่อ ที่ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในสารกึ่งตัวนำชนิดไทริสเตอร์ เหมือน SCR ไตรแอกและไดแอก แต่ในการใช้งานจะต้องทำงานร่วมกับ SCR ไตรแอก และไดแอกเสมอ ขาที่ต่อออกมาใช้งานทั้ง 3 ขา มีขาเบส 1 (BASE 1) ขาเบส 2 (BASE 2) และขาอิมิตเตอร์ (EMITTER) โครงสร้างและสัญลักษณ์ของ UJT แสดงดังรูปที่ 1.1 

แสดงโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที

จากคุณสมบัติของ UJT ที่กล่าวมา เราสามารถเขียนวงจรสมมูลย์ (EQUIVALENT CIRCUIT) ของ UJT ได้เหมือนเป็นตัวต้านทานต่อร่วมกับไดโอด แสดงดังรูปที่ 1.2  วงจรสมมูลย์ของ UJT

การไบอัสยูเจที  การไบอัส UJT

จากรูป เป็นวงจรการจ่ายไบอัสให้ UJT ทำงานแบบเบื้องต้น จะต้องจ่ายแรงดัน VBB ตกคร่อมขา B2 และขา B1 โดยให้ขา B2 มีศักย์เป็นบวกเทียบกับขา B1 และจ่ายแรงดัน VE ให้ขา E และ B1 โดยให้ขา E มีศักย์เป็นบวกเทียบกับขา B1 UJT จะนำกรแสเมื่อมี IE ไหล และทำให้เกิด IB ไหล 

กราฟคุณสมบัติของยูเจที กราฟคุณสมบัติ ยูเจที

จากรูป แสดงกราฟคุณสมบัติ ยูเจที โดยความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน กับกระแส แรงดัน ที่ป้อนให้วงจรเท่ากับ 10 V จากกราฟด้านซ้ายมือเป็นกราฟเนื่องจากการเริ่มจ่ายแรงดัน ให้ขา E เทียบกับขา B1 ถ้าแรงดัน ที่จ่ายให้ยังไม่ถึงค่า จะมีกระแสไหล ในวงจรเพียงเล็กน้อย จะเป็นค่ากระแสรั่วซึม เพราะไดโอด D ยังคงได้รับไบอัสกลับไม่นำกระแส ในส่วนนี้จะเรียกว่า ช่วงคัทออฟ (CUTOFF REGION) เมื่อเพิ่มแรงดัน จนถึงค่าแรงดัน หรือถึงค่าระดับแรงดันที่ทำให้ไดโอด D ได้รับไบอัส ตรง จะทำให้มีกระแส ไหลจากขา E ไปขา B 1 เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และในเวลาเดียวกันนั้นแรงดัน จะมีค่าลดลง แรงดัน นี้จะลดลงถึงค่า

การนำยูเจทีไปใช้งาน  1. ยูเจที รีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ (UJT RELAXTION OSCILLATOR) ในวงจรจะประกอบด้วยตัวต้านทาน และตัวเก็บประจุต่อเข้าที่ขา E ของ ยูเจที ทำหน้าที่เป็นวงจรตั้งเวลา ซึ่งจะมีค่าคงที่ขึ้นอยู่กับค่าความต้านทาน และค่าความจุคูณกันตัวต้านทานและตัวเก็บประจุที่ต่อกับขา E ของ ยูเจที จะเป็นตัวกำหนดเวลาในการทำงานของ ยูเจที สัญญาณที่ถูกกำเนิดขึ้นมาจะสามารถนำออกมาใช้งานได้ทั้งขา E ขา B 1 และขา B 2 วงจรรีแลกซ์เซชั่นออสซิลเลเตอร์ แสดงดังรูปต่อไป

รูปวงจรและรูปสัญญาณของวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์

รูปวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ควบคุมโดย UJT 2. การใช้ ยูเจที ควบคุมวงจรเร็กติไฟออร์ของ SCR เป็นวงจรที่ใช้รีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ควบคุมการเร็กติไฟออร์ของ SCR โดยควบคุมและปรับเปลี่ยนเฟสการเร็กติไฟได้ วงจรแสดงดังรูปที่ 1.6 รูปวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ควบคุมโดย UJT 

จากรูป เป็นวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ถูกควบคุมเฟสการเร็กติไฟเออร์ด้วยวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ วงจรประกอบด้วย  เป็นตัวต้านทานจำกัดกระแสที่จะไหลผ่านซีเนอร์ไดโอด  ไม่ให้มากเกินไป  เป็นซีนเนอร์ไดโอดกำหนดค่าแรงดันจ่ายให้วงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์  ,  เป็นวงจรกำหนดเวลาการทำงานของ ยูเจที ตัว  เป็นโหลดของ ยูเจที ส่งแรงดันพัลซ์บวก

จบการนำเสนอ