ภาวะไตวาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
หัวจดเท้ารักษาเองได้ ก่อนไปหาหมอ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
โรคหัวใจ.
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
กำมะถัน (Sulfur).
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะไตวาย

ไต มีหน้าที่อะไร ไตวายเรื้อรัง เกิดจากอะไร 1. ขับถ่ายของเสียที่เกิดจาการเผาผลาญอาหารประเภทโปรตีน 2. ควบคุมสมดุลย์ของน้ำ และเกลือแร่ในร่างกาย 3. ผลิต และควบคุมการทำงานของฮอร์โมน เช่นฮอร์โมนทีกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ไตวายเรื้อรัง เกิดจากอะไร - เกิดจาก กรวยไตอักเสบเรื้อรัง - เกิดจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบตัน - ทางเดินปัสสาวะอุดตัน เช่น นิ่ว - โรคเบาหวาน - จากโรค SLE - จากยาบางชนิด ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 1

ระยะ ของไตวาย 1.ไตวายระยะแรก การทำงานของไตลดลงมากกว่า 50% บางรายอาจยังไม่มีอาการ ต้องใช้การตรวจ ทางห้องปฎิบัติการช่วยในการวินิจฉัย 2.ไตวายระยะปานกลาง การทำงานลดลงมากกว่า 75% ผู้ป่วยเริ่มมีอาการจากการคั่งของของเสีย เช่น ปัสสาวะออกน้อย เพลีย ไม่มีแรง บวม คันตามตัว หอบเหนื่อย ความดันโลหิตสูง ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 2

เมื่อไตเริ่มเสื่อมมากขึ้นผู้ป่วยจะมีอาการดังนี้ * ปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อยขึ้น เนื่องจากไตไม่สามารถดูดซึมน้ำกลับ * เหนื่อยง่าย * อ่อนเพลีย * ความจำไม่ดี นอกจากนี้ยังมีอาการตามระบบต่างๆดังนี้ 1.ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ -มีการกระตุกของกล้ามเนื้อ - ปลายมือปลายเท้าชา - เป็นตะคริว และชัก 2.ระบบทางเดินอาหาร -เบื่ออาหาร -คลื่นไส้ อาเจียน 3.ระบบหัวใจและหลอดเลือด มีการคั่งของเกลือและน้ำ จะทำให้เกิดความดันโลหิตสูง - มีอาการบวมเนื่องจากหัวใจวาย 4.ผิวหนัง มีอาการคัน ผิวจะมีสีเหลือง-น้ำตาล ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 3

การรักษา หลักการรักษาไตวายประกอบด้วย 1. การควบคุมอาหาร 1. การควบคุมอาหาร 3. การล้างไตผ่านทางช่องท้อง 4. การผ่าตัดเปลี่ยนไต 2. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 4

อาหารผู้ป่วยโรคไต 3.ไขมัน หลีกเลี่ยงไขมันจากสัตว์เช่น 1.โปรตีน ที่ควรรับประทานคือ * ไข่ให้รับประทานไข่ขาวเนื่องจากไข่แดงมีcholesterol มาก * เนื้อสัตว์ให้รับประทานเนื้อปลาเป็นหลัก ไม่ควรรับประทานโปรตีนมากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดของเสียคั่งในร่างกายได้ 2.แป้งหรือคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ข้าว ก๋วยเตี๋ยว วุ้นเส้น ผู้ป่วยควรรับประทานหมู่นี้ให้มาก ยกเว้นไตวายจากโรคเบาหวานต้องปรึกษาแพทย์ 3.ไขมัน หลีกเลี่ยงไขมันจากสัตว์เช่น มันหมู มันไก่ น้ำมันมะพร้าว ให้ใช้น้ำมันถั่วเหลืองแทน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 5

ถ้าระดับโพแทสเซียม สูงมาก 4.เกลือแร่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็ม เช่น หมูเค็ม ไส้กรอก ผักดองและ อาหารตากแห้ง อาหารสำเร็จรูปเพราะจะทำให้ความดันโลหิตสูง บวม น้ำท่วมปอด 5. Potassium โพแทสเซียม ถ้าระดับโพแทสเซียม สูงมาก อาจทำให้หัวใจหยุดเต้นได้ * ผักที่ควรงด บร๊อคโคลี่ แครอท * ผลไม้ที่ควรงดได้แก่ มะพร้าว ส้ม กล้วย ฝรั่ง องุ่น 6.เหล็ก ผู้ป่วยโรคไตควรได้รับธาตุเหล็กเสริมในรูปของยารับประทาน 7.น้ำ ผู้ป่วยดื่มน้ำไม่เกินวันละประมาณ 500 มิลลิลิตร ไม่ควรดื่มน้ำแร่ ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 6