ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Conductors, dielectrics and capacitance
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
New IT Update เรื่องแบตเตอรี่นาโนบางกว่าเส้นผม
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
หม้อแปลง.
การแปรผันตรง (Direct variation)
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
กาแล็กซีและเอกภพ.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
เป็นแหล่งพลังงานจ่ายไฟ ให้แก่มอเตอร์สตาร์ท และ
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ความปลอดภัยในการทำงาน
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.1/9 ความรู้พื้นฐานฯ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า ไฟฟ้าประกอบด้วยอะไร? นิวตรอน + + - อิเล็กตรอน โปรตรอน นิวเคลียส โครงสร้างของอะตอม

ตัวนำไฟฟ้ามีโครงสร้างของอะตอมเป็นอย่างไร? วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.2/9 ความรู้พื้นฐานฯ ตัวนำไฟฟ้ามีโครงสร้างของอะตอมเป็นอย่างไร? ภาพแสดงโครงสร้างอะตอมของทองแดง

ไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้อย่างไร? วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.3/9 ความรู้พื้นฐานฯ ไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้อย่างไร? - + ความต่างศักย์ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า E = W/Q E = แรงดันไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวลท์ ( Volt ; V ) W = งานที่เกิดจากกการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล ( Joules ; J ) Q = ขนาดของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ ( Coulomb ; C )

I = Q/t กระแสไฟฟ้าคืออะไร? วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.4/9 ความรู้พื้นฐานฯ กระแสไฟฟ้าคืออะไร? การเคลื่อนตัวของอิเล็กตรอนอิสระทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในเส้นลวดได้ I = Q/t I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น แอมแปร์ ( A ) หรือ คูลอมบ์/วินาที Q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ ( C ) t = เวลา มีหน่วยเป็น วินาที ( s )

ตัวนำและฉนวนไฟฟ้าต่างกันอย่างไร วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.5/9 ความรู้พื้นฐานฯ ตัวนำและฉนวนไฟฟ้าต่างกันอย่างไร ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่านได้ วัตถุที่ มีจำนวนอิเล็กตรอนอิสระมาก แสดงว่าเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ฉนวนไฟฟ้า หมายถึง วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่านได้ ฉนวนไฟฟ้าที่ดีไม่ควรมีอิเล็กตรอนอิสระ

ความต้านทาน และตัวนำไฟฟ้า ต่างกันอย่างไร วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.6/9 ความรู้พื้นฐานฯ ความต้านทาน และตัวนำไฟฟ้า ต่างกันอย่างไร ความต้านทานไฟฟ้า เป็นการต้านการไหลของอิเล็กตรอนอิสระ หรือการ ไหลของกระแสไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้าไหลในขดลวดทองแดง อิเล็กตรอนอิสระไม่เพียงแต่ปะทะซึ่งกันและกันเท่านั้น แต่ยังไปกระทบกับ อิเล็กตรอนในอะตอมที่ไม่มีการเคลื่อนตัวของลวดทองแดงอีกด้วย ทำให้เกิด การต้านการไหลของอิเล็กตรอนอิสระหรือการไหลของกระแสไฟฟ้า ความนำไฟฟ้า เป็นปริมาณตรงข้ามกับความต้านทานและ เป็นตัวบ่งบอกให้ ทราบว่าตัวนำไฟฟ้ายอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากน้อยเพียงใด

ปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.7/9 ความรู้พื้นฐานฯ ปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำไฟฟ้า (a) (b) (C)

วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยอะไรบ้าง? วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.8/9 ความรู้พื้นฐานฯ วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยอะไรบ้าง? ในวงจรไฟฟ้าทั่ว ๆ ไปนั้น จะประกอบด้วยส่วนของไฟฟ้า 3 ส่วน คือ แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความ ต้านทานไฟฟ้า อุปกรณ์ที่ให้แรงดันไฟฟ้า คือแหล่งจ่ายไฟ (Source) จะเป็นแบตเตอรี่ หรือเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ส่วนของวงจรที่จะนำกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้แก่ สายไฟ (Conductor) และส่วนของวงจรที่ต้านการไหลของ กระแสไฟก็คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือที่เรียกว่าโหลด (Load)

วงจรไฟฟ้ามีลักษณะเป็นอย่างไร? วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1.9/9 ความรู้พื้นฐานฯ วงจรไฟฟ้ามีลักษณะเป็นอย่างไร? G แหล่งจ่ายไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้า ภาระไฟฟ้า ภาพแสดงส่วนประกอบวงจรไฟฟ้า